2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่พบมากในนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกันและปัญหาด้านทันตสุขภาพนั้น นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้วยังมีผลกระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเด็ก นักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมร่องลึกทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายนอกจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานของหวานตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายหากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดีพอโรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้และสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพหากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดีและการส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรค จะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้
จากการตรวจสุขภาพช่องปากจากกลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะบิ้ง ในปีงบประมาณ 2567 ช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียน พบว่านักเรียนมีฟันแท้ผุ เหงือกอักเสบซึ่งทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะบิ้ง ได้ดำเนินการส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพ ตั้งแต่นักเรียนชั้นอนุบาล ถึงระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6โดยให้การส่งเสริมการป้องกันด้านเคลือบหลุมร่องฟัน อุดฟัน ซึ่งทางโรงพยาบาลให้บริการปีละ 2 ครั้งทำให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างครอบคลุม และยังคงพบปัญหาด้านทันตสุขภาพในนักเรียน
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่พบมากในนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกันและปัญหาด้านทันตสุขภาพนั้น นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้วยังมีผลกระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเด็ก นักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมร่องลึกทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายนอกจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานของหวานตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายหากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดีพอโรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้และสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพหากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดีและการส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรค จะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้
จากการตรวจสุขภาพช่องปากจากกลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะบิ้ง ในปีงบประมาณ 2567 ช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียน พบว่านักเรียนมีฟันแท้ผุ เหงือกอักเสบซึ่งทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะบิ้ง ได้ดำเนินการส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพ ตั้งแต่นักเรียนชั้นอนุบาล ถึงระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6โดยให้การส่งเสริมการป้องกันด้านเคลือบหลุมร่องฟัน อุดฟัน ซึ่งทางโรงพยาบาลให้บริการปีละ 2 ครั้งทำให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพของนักเรียนได้อย่างครอบคลุม และยังคงพบปัญหาด้านทันตสุขภาพในนักเรียน
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 16/05/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่ผ่านการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาสุขภาพฟันที่ดี
2. ร้อยละ 60 นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดี และลดปัญหาของการเกิดโรคฟันผุ
3. ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่ผ่านการอบรมมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี