กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กวัยเรียน รพ.สต.เปียน ปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพช่องปาก ๒ เพื่อให้นักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี และสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ๓ เพื่อให้นักเรียนระดับประถมศึกษามีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

นักเรียนมีความรู้ทันตสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 80  ทำแบบทดสอบ ก่อน- หลัง การอบรม)

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 85
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กวัยเรียน รพ.สต.เปียน ปี 2568

ชื่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กวัยเรียน รพ.สต.เปียน ปี 2568
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 จัดอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพในเด็กวัยเรียน โดยการจัดเป็นฐานให้ความรู้พร้อมปฏิบัติดังนี้ ฐานที่ 1. เรื่องโรคในช่องปาก
- โรคฟันผุ - สาเหตุของการเกิดโรคฟันผุและการรักษา - โรคเหงือกอักเสบ - สาเหตุของการเกิดโรคเหงือกอักเสบและการรักษา ฐานที่ 2.การดูแลสุขภาพช่องปาก/การแปรงฟันที่ถูกวิธี - การฝึกปฏิบัติแปรงฟันจริง - การใช้ไหมขัดฟัน - การตรวจฟันด้วยตนเอง ฐานที่ 3.อาหารกับสุขภาพช่องปาก - การเลือกบริโภคอาหารที่มีผลดีต่อฟัน - การเลือกบริโภคอาหารที่มีผลเสียต่อฟัน การจัดอบรมให้กับ ชมรมอสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเปียน จำนวน 85 คน
- ค่าไวนิลโครงการขนาด 1.2  เมตร x 2.5 เมตร  จำนวน 1 ผืน x ผืนละ 750 บาท
เป็นเงิน  750  บาท - ค่าสื่อในรูปแบบโฟมบอร์ด เรื่องทันตสุขภาพ ขนาด 100 x 70 ซม.
จำนวน 6 สื่อ x แผ่นละ 500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าสื่อในรูปแบบโรลอัพ เรื่องทันตสุขภาพ ขนาด 80 x 200 ซม.
จำนวน 3 ชุด x ชุดละ 1,500 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท - ค่าสื่อสาธิตโมเดลฟันแท้ ฟันน้ำนม 3 ปี จำนวน 1 ชุด x ชุดละ 2,500 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มมื้อละ 35 บาท
จำนวน 2 มื้อ X  จำนวน 85 คน
เป็นเงิน  5,950 บาท - . ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 80 บาท
จำนวน 1 มื้อ X  จำนวน 85 คน
เป็นเงิน  6,800 บาท - ค่าเกียรติบัตรอสม. ผ่านการได้รับความรู้ทันตสุขภาพ จำนวน 85 แผ่น x แผ่นละ 30 บาท เป็นเงิน 2,550 บาท - ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 600 บาท x เวลา 6 ชม
จำนวน 1 วัน     
เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าเครื่องเขียนในการอบรม
จำนวน 85 ชุด x ชุดละ 30 บาท
เป็นเงิน 2,550 บาท - ค่าเอกสารในการอบรม
จำนวน 85 ชุด x ชุดละ 20 บาท เป็นเงิน 1,700 บาท - ค่ากระเป๋าสำหรับใส่เอกสารพร้อมสกรีน จำนวน 85 ใบ X ชุดละ 100 บาท เป็นเงิน 8,500 บาท
- ค่าชุดดูแลสุขภาพช่องปากสำหรับเด็กนักเรียน ประกอบด้วยแปรงสีฟัน+ยาสีฟัน+ไหมขัดฟัน จำนวน 85 ชุด x ชุดละ 150 บาท 
เป็นเงิน 12,750 บาท - อุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติการแปรงฟัน (แก้วน้ำ+กระจกส่องหน้า) จำนวน 29 ชุด x ชุดละ 30 บาท เป็นเงิน 870 บาท - สีย้อมฟันทดสอบแผ่นคราบจุลินทรีย์ จำนวน 10 ขวด x ขวดละ 50 บาท เป็นเงิน 500 บาท                  รวมเป็นเงินทั้งสิ้น    56,520 บาท หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้ งบประมาณ        56,520 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น            2 นักเรียนมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีประสิทธิภาพ            3 สามารถถ่ายทอดความรู้ทันตสุขภาพและตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นได้            4 นักเรียนระดับประถมศึกษามีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
56520.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 56,520.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>