กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปและกิจกรรมการประชุมเชิงปฎิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงฯนำร่อง

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปราง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปและกิจกรรมการประชุมเชิงปฎิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงฯนำร่อง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปราง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหลวง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

3.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

3.00
3 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

 

3.00
4 ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดเชื้อเนื่องมาจากแบบ แผนชีวิตมนุษย์ที่มีความเครียดมากขึ้น มีนิสัยการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ขาดการออกกำลังกาย สิ่งต่าง ๆเหล่านี้ ส่งผลให้เกิดโรคจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้

 

3.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง

3.00 1.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง

3.00 1.00
3 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง

3.00 1.00
4 1.ประชากร อายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงฯ 2.กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจยืนยันวินิจฉัย มากกว่าร้อยละ 72 3.ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงเข้าถึงการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางห้องปฎิบัติการ ตรวจ HbA1C,Creatinine,LDL ในไตรมาสแรก มากกว่าร้อยละ 72 4.ผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงลดลง 5.ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแลกร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

1.ร้อยละของการตรวจยืนยีนวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
2.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ร้อยละ 40
3.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 40

3.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น :

กำหนดเสร็จ :

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 ประชุม /สัมมนา / อบรม 1.ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงฯ 2.ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงเข้าถึงได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางห้องปฏิบัติการ ตรวจ HbA1C,Creatinine,LDL ในไตรมาสแรก 3.ประชากรที่คัดกรองความเสี่ยงโรคเ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 ประชุม /สัมมนา / อบรม 1.ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงฯ 2.ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงเข้าถึงได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางห้องปฏิบัติการ ตรวจ HbA1C,Creatinine,LDL ในไตรมาสแรก 3.ประชากรที่คัดกรองความเสี่ยงโรคเ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมโครงการที่ 1
(กิจกรรมการคัดกรอง) 1.เครื่องวัดความดันแบบดิจิตอล ยี่ห้อ Omron จำนวน 5 เครื่องๆละ 3,000 บาท รวมเป็นเงิน 15,000 บาท 2.เครื่องเจาะน้ำตาล ยี่ห้อ Accu cheak จำนวน 5 เครื่องๆละ 2,500 บาท รวมเป็นเงิน 12,500 บาท รวมเป็นเงิน 27,500 บาท กิจกรรมโครงการที่ 2 (ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ) 1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 60 บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน 3,000 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน
2,500 บาท
3.ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ไวนิล ขนาด 1*3 เมตร จำนวน1 ป้าย เป็นเงิน 450 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,950 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ทั้ง 2 กิจกรรม
เป็นเงิน 33,450 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละของการตรวจยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 72 2.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ร้อยละ 40 3.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 40 4.ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 40 5.ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงได้ ร้อยละ 40

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
33450.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 33,450.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>