กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปราง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซีส ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านทุ่งหลวง ปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปราง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหลวง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อโดยยุงลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และความสูญเสีย ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ กองโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรคได้ติดต่อตามสถานการณ์ โรค

 

2.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิด Generation ที่ 2 2.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2563-2567) 3.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง 4.เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์ เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์และภาชนะเสี่ยง ในชุมชน โรงเรียน และวัด ที่เป็นแหล่งโรค 5.เพื่อประชาสัมพันธ์สถานการณ์และให้ความรู้ประชาชนสร้างความตระหนักต่อการป้อง โรคไข้เลือดออกและลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านทุ่งหลวงในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านทุ่งหลวง 6.เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและการป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว

1.ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน Generation ที่ 2
2.อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (พ.ศ 2563-2567) ร้อยละ 20

2.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น :

กำหนดเสร็จ :

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ดำเนินการสำรวจลูกน้ำยุงลายไขว่ระหว่างหมู่บ้านติดต่อประจำทุก 2 เดือนเพื่อประเมินค่า HI ในชุมชนและค่า CI ในโรงเรียน/รพ.สต. /วัด 2.ดำเนินงานจัดทำข้อมูลข่าวสารในศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ ของรพ.สต. และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน 3.ดำเ

ชื่อกิจกรรม
1.ดำเนินการสำรวจลูกน้ำยุงลายไขว่ระหว่างหมู่บ้านติดต่อประจำทุก 2 เดือนเพื่อประเมินค่า HI ในชุมชนและค่า CI ในโรงเรียน/รพ.สต. /วัด 2.ดำเนินงานจัดทำข้อมูลข่าวสารในศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ ของรพ.สต. และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน 3.ดำเ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1
1.ค่าทรายกำจัดลุกน้ำยุงลายบรรจุ 500 ซอง/ถัง จำนวน 1 ถังๆละ 3,500 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท 2.ค่าโลชั่นทากันยุง จำนวน 500 ซองๆละ 5 บาท เป็นเงิน 2,500บาท 3.ค่าน้ำมันเบนซินสำหรับเครื่องพ่นหมอกควัน
เป็นเงิน 1,500 บาท 4.ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง (น้ำมันดีเซล) สำหรับเครื่องพ่นหมอกควัน เป็นเงิน 3,000 บาท 5.ค่าพ่นสารเคมีควบคุมโรคใน ชุมชน 6 ครั้งๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 6.สเปรย์พ่นยุงลาย จำนวน 100 กระป๋องๆละ 65 บาท
เป็นเงิน 6,500 บาท 7.ค่าจ้างรถประชาสัมพันธ์ โรคไข้เลือดออกและโรคฉี่หนู
จำนวน 2 ครั้งๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท


รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  26,000  บาท (สองหมื่นหกพันบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2568 ลดลงจากปีที่แล้ว ร้อยละ 20
  2. ไม่มีรายงานพบชุมชนที่มีการเกิดโรคใน generation ที่ 2 ในผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  3. ค่าHouse Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) ค่า Breteau Index น้อยกว่าหรือเท่า 50 (BI < 50) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของชุมชน และค่า Container Index น้อยกว่า หรือเท่า 10 (CI ≤ 10) ในสถานบริการต่าง ๆ เช่น โรงเรียน วัด ศูนย์บริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯลฯควรมีค่า CI = 0 ร้อยละ 100
  4. ประชาชนมีความตระหนักและมีจิตสำนึกในการป้องกันโรคไข้เลือดออกในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก
  5. การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  6. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและสามารถป้องกันตนเองจากโรคเลปโตสไปโรซีส (Leptospirosis) หรือโรคฉี่หนู และกำจัดพาหะนำโรคได้ด้วยตัวเอง
  7. สามารถลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีสในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหลวง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>