แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ รหัส กปท. L3333
อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. นางพรศรีพัวพันธ์
2. นางสุภาพทิพรองพล
3. นางสาววาสนาฤทธิรุตน์
4. นายน้อมนุ่น
5. นางสาวฤทัยรัตน์จอเอียด
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
จากข้อมูลของสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือนธันวาคม 2566 พบว่า ไทยมีผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ทั่วประเทศ จำนวน 13,064,929 คน คิดเป็น 20.17% ของประชากรรวม มีผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป จำนวน 8,901,145 คน คิดเป็น 14% ของประชากรรวม เมื่อแยกรายภาค ภาคเหนือมีประชากรสูงวัย 2,112,408 คน คิดเป็น 16.17% ของประชากรรวม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจำนวน 4,131,668 คนคิดเป็น 31.62% ของประชากรรวม ภาคกลาง 5,201,324 คนคิดเป็น 39.81% ของประชากรรวม และภาคใต้ 1,619,529 คนคิดเป็น 12.40% ของประชากรรวม ปี 2565 จังหวัดพัทลุง มีประชากรทั้งหมด 522,080 คน มีจำนวนผู้สูงอายุ 105,135 คน ร้อยละผู้สูงอายุ60ปีขึ้นไป 20.14 เมื่อถึงวัยสูงอายุสภาพร่างกายและจิตใจมีการเปลี่ยนแปลง ต้องมีการปรับตัว และที่สำคัญเมื่ออายุมากขึ้นสภาพร่างกายเริ่มเสื่อมถอยลง ปัญหาด้านสุขภาพก็จะตามมา ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะมีปัญหาในเรื่องการดูแลสุขภาพในเรื่องของโรคเรื้อรังได้แก่ ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคอ้วน ซึ่งมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม อาการปวดเมื่อยต่างๆ การขาดการออกกำลังกายที่สม่ำเสมออย่างต่อเนื่อง การดูแลสุขภาพจิต และมีปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งให้เลี้ยงดูบุตรหลานตามลำพัง ผู้สูงอายุบางรายอาจเกิดภาวะโรคซึมเศร้าได้ ผู้สูงอายุจึงถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิต สุขภาพจิต สุขภาพกายที่ดี เป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สิ่งสำคัญที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีได้ เช่น การสวดมนต์ไหว้พระ นั่งสมาธิการเข้าวัดปฏิบัติธรรม ผู้สูงอายุควรมีการส่งเสริมสุขภาพจิตของตนเองเป็นประจำและสม่ำเสมอ การนำหลักธรรมของศาสนามาปรับใช้ในวิถีชีวิต การออกกำลังกาย การเล่นกีฬา เพื่อส่งเสริมสุขภาพ การตรวจคัดกรองเบื้องต้น และให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อให้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
จากสถานการณ์สังคมผู้สูงอายุในปัจจุบัน ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของรพ.สต.บ้านบางตาล มีประชากรทั้งหมด 1,868 คน มีผู้สูงอายุทั้งหมด 360 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด หมู่ที่ 3 บ้านท่าเนียน มีประชากรทั้งหมด 345 คน มีผู้สูงอายุทั้งหมด 90 คน คิดเป็นร้อยละ 26 ของประชากรทั้งหมดในพื้นที่หมู่ 3 บ้านท่าเนียน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 3 ได้เล็งเห็นถึงปัญหาของประชาชนเมื่อต้องเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ จึง ได้จัดทำโครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงวัยอย่างมีสุข หมู่ที่ 3 ตำบลเกาะนางคำอำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 ขึ้น
-
1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ ในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงวัยตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงวัย ร้อยละ 95ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีสุขภาพโดยรวมดีขึ้น และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการทำลูกประคบตัวชี้วัด : หลังเข้าร่วมโครงการ กลุ่มเป้าหมาย มีสุขภาพโดยรวมดีขึ้น ร้อยละ 5ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. ขั้นเตรียมการรายละเอียด
1.ประชุมจัดทำแผนงานโครงการ 2.เขียนโครงการ 3.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 4.ประชุมเพื่อชี้แจงโครงการ
งบประมาณ 0.00 บาท - 2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงวัย เรื่องการเลือกรับประทานอาหาร การจัดการอารมณ์เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ การออกกำลังกายที่เหมาะสม พร้อมสาธิตการทำลูกประคบ การนวดผ่อนคลาย ลดอาการปวดเมื่อยด้วยลูกประคบรายละเอียด
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงวัย เรื่องการเลือกรับประทานอาหาร การจัดการอารมณ์เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ การออกกำลังกายที่เหมาะสม
- สาธิตการทำลูกประคบ การนวดผ่อนคลาย ลดอาการปวดเมื่อยด้วยลูกประคบ แก่กลุ่มเป้าหมายในหมู่บ้านท่าเนียน
งบประมาณ
- ค่าวิทยากรอบรม จำนวน 2 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าวิทยากรสอนทำลูกประคบ จำนวน 1 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ค่าเช่าเครื่องเสียง จำนวน 3 ชม.ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 ชุด ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1x1.6 เมตร ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 240 บาท - ค่าวัสดุลูกประคบ 80 ลูกๆ ละ 69 บาท เป็นเงิน 5,520 บาท ประกอบด้วย 1 ผ้าด้ายดิบ 2 เชือกด้าย 3 ผิวมะกรูด 4 ตะไคร้ 5 หัวไพล 6 ขมิ้นชัน 7 การบูร 8 พิมเสน 9 ใบมะขาม รวมเป็นเงิน 9,360 บาทงบประมาณ 9,360.00 บาท - จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงวัย เรื่องการเลือกรับประทานอาหาร การจัดการอารมณ์เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ การออกกำลังกายที่เหมาะสม
- 3. ประเมินผลก่อนการจัดอบรบ – หลังการจัดอบรมรายละเอียด
- ค่าชุดประเมินผลก่อนการอบรม – หลังการอบรม 80 ชุด ๆ ละ 2 บาท เป็นเงิน 160 บาท
- ค่าชุดแบบสอบถามความพึงพอใจ 40 ชุด ๆ ละ 2 บาท เป็นเงิน 80 บาท
- ค่าปากกา 40 ด้าม ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 400 บาท รวมเป็นเงิน 640 บาท
งบประมาณ 640.00 บาท - 4. ประเมินและสรุปผลโครงการรายละเอียด
-ไม่ใช้งบประมาณ-
งบประมาณ 0.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
รวมงบประมาณโครงการ 10,000.00 บาท
1 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับตัวและเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยผู้สูงวัยอย่างมีสุข 2. กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจจากการได้เข้าร่วมโครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงวัยอย่างมีสุข 3. กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพโดยรวมดีขึ้น หลังจากได้เข้าร่วมโครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงวัยอย่างมีสุข
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ รหัส กปท. L3333
อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ รหัส กปท. L3333
อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................