แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ
1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2568ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะเครียะ
นางสาวอาภรณ์ไพศาล
นายวินัย ชูเปีย
นายประมวญช่วยแท่น
นางอำนวย เซ่งเอียง
นางสาลีชูบัวทอง
นางเสาวณีย์ ห้องชุ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
กระทรวงสาธารณสุข เดินหน้าลตปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่ทำให้เกิดความสูญเสียต้นทุนทุนทางเศรษฐกิจปีละ 1.6ล้านล้านบาท ปักหมุด 6 จุดทั่วไทย รณรงค์ "คนไทยห่างไกล NCDS" เริ่มต้นที่ภาคใต้ ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรม
สุขภาพ เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า และช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและของประเทศคนไทยป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable disease : NCDs) เช่น เบาหวาน ความสูง โรคโตเรื้อรังเป็นจำนวนมาก และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น กินอาหารหวานจัด เต็มจัด ไม่อกกำลังกายดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ นอนดึก มีความเครียดสูง เป็นตัน ทำให้เกิดความสูญเสียต้นทุนทางเศรษฐกิจสูงถึงปีละ 1.6 ล้านล้านบาท จากค่ารักษาพยาบาลทางตรงและความสูญเสียทางอ้อม โดยข้อมูลปี 2560 ประเทศไทยเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคNCD5 สูงกว่า 62,138 ล้านบาท และมีคนไทยต้องเสียชีวิตจากโรค NCDs ปีละกว่า 400,000 ราย กระทรวงสาธาธารณสุขมีนโยบายแก้ไขปัญหา โดยผลักดันการส่งเสริมสุขภาพและแนวคิดวิถีชีวิตเพื่อสุขภาพที่ดีไปสู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ ให้เอื้อในการต่อสู้กับโรค NCDs สนับสนุนแนวคิดสุขภาพดี สิทธิประโยชน์เพิ่ม รวมถึงส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs เพื่อลดอัตราการป่วยก่อนเข้าสู่ระบบการรักษาช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในการปรับพฤติกรรม ทั้งการกินอาหารให้เหมาะสมกับการใช้พลังงาน ด้วยการนับอนนโยบายคนไทยห่างไกล NCDs ต้องอาศัยความร่วมแรงร่วมใจจากบุคลากรสาธารณสุขและคาร์บหรือคาร์โบไฮเดรตที่มาจากอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล รวมถึงมีการออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอซึ่งจะช่วยลดายใหม่ ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่าและลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนได้ การขับเคลื่อนนโยบายคนไทยห่างไกล NCDs จะดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่
1) สร้างระบบบริการด้านสุขภาพ โดย จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs พร้อมสร้างครู ก เป็นแกนหลัก เริ่มต้นอำเภอละจัดตั้ง NCDs Remission Clinic ในโรงพยาบาลทุกระดับ/รพ.สต. ทุกจังหวัด และสร้างทีมผู้นำต้านภัย NCD
ระดับเขตในทุกจังหวัด ระดับอำเภอๆ ละ 1 ทีม และระดับ รพ.สต. ตำบล
2) ส่งเสริมความร่วมมือสหสาชาวิชาชีพ โดยพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์และร่วมมือกับสหสาชาวิชาชีพในการดำเนินการ NCDS remission Clinic, พัฒนาคู่มือแนวทางการดำเนินงาน / ระบบรายงานข้อมูล
3) ให้ความรู้ อสม. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชน เชิญชวนกลุ่มเสี่ยงเข้าศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs พร้อมทั้งเป็นพี่เลี้ยงและติดตามผลตำบลตะเครียะ
มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 305 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.47 ของประชากร
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 652 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.25 ของประชากร
กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 164 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.09 ของประชากร
กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 196 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.09 ของประชากร
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลตะเครียะ ได้เห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง เพื่อให้กลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ได้รับการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมที่ถูกต้อง เพื่อลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในอนาคต ต่อไป
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น : 01/10/2024
กำหนดเสร็จ : 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.ประซากรกลุ่มเสียงโรคเรื้อรังมีความรู้หารใจใจในการแลทุเพที่ถูกทั้งการารถามกาถะมาทของตนเองและคนในครอบครัว ได้
2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 80
3.ประชากรกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังสามามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคุมระดับความตันโลหิตหรือระดับน้ำตาลและบันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ ร้อยละ80
4.ผู้ป่วยรายใหม่โรคเรื้อรังลดลง ร้อยละ 5