แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ รหัส กปท. L5220
อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
นางสาวอาภรณ์ไพศาล
นายวินัย ชูเปีย
นายประมวญช่วยแท่น
นางอำนวย เซ่งเอียง
นางสาลีชูบัวทอง
นางเสาวณีย์ ห้องชุ
กระทรวงสาธารณสุข เดินหน้าลตปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่ทำให้เกิดความสูญเสียต้นทุนทุนทางเศรษฐกิจปีละ 1.6ล้านล้านบาท ปักหมุด 6 จุดทั่วไทย รณรงค์ "คนไทยห่างไกล NCDS" เริ่มต้นที่ภาคใต้ ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรม สุขภาพ เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า และช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและของประเทศคนไทยป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable disease : NCDs) เช่น เบาหวาน ความสูง โรคโตเรื้อรังเป็นจำนวนมาก และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น กินอาหารหวานจัด เต็มจัด ไม่อกกำลังกายดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ นอนดึก มีความเครียดสูง เป็นตัน ทำให้เกิดความสูญเสียต้นทุนทางเศรษฐกิจสูงถึงปีละ 1.6 ล้านล้านบาท จากค่ารักษาพยาบาลทางตรงและความสูญเสียทางอ้อม โดยข้อมูลปี 2560 ประเทศไทยเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคNCD5 สูงกว่า 62,138 ล้านบาท และมีคนไทยต้องเสียชีวิตจากโรค NCDs ปีละกว่า 400,000 ราย กระทรวงสาธาธารณสุขมีนโยบายแก้ไขปัญหา โดยผลักดันการส่งเสริมสุขภาพและแนวคิดวิถีชีวิตเพื่อสุขภาพที่ดีไปสู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ ให้เอื้อในการต่อสู้กับโรค NCDs สนับสนุนแนวคิดสุขภาพดี สิทธิประโยชน์เพิ่ม รวมถึงส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs เพื่อลดอัตราการป่วยก่อนเข้าสู่ระบบการรักษาช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในการปรับพฤติกรรม ทั้งการกินอาหารให้เหมาะสมกับการใช้พลังงาน ด้วยการนับอนนโยบายคนไทยห่างไกล NCDs ต้องอาศัยความร่วมแรงร่วมใจจากบุคลากรสาธารณสุขและคาร์บหรือคาร์โบไฮเดรตที่มาจากอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล รวมถึงมีการออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอซึ่งจะช่วยลดายใหม่ ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่าและลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนได้ การขับเคลื่อนนโยบายคนไทยห่างไกล NCDs จะดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่ 1) สร้างระบบบริการด้านสุขภาพ โดย จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs พร้อมสร้างครู ก เป็นแกนหลัก เริ่มต้นอำเภอละจัดตั้ง NCDs Remission Clinic ในโรงพยาบาลทุกระดับ/รพ.สต. ทุกจังหวัด และสร้างทีมผู้นำต้านภัย NCD ระดับเขตในทุกจังหวัด ระดับอำเภอๆ ละ 1 ทีม และระดับ รพ.สต. ตำบล 2) ส่งเสริมความร่วมมือสหสาชาวิชาชีพ โดยพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์และร่วมมือกับสหสาชาวิชาชีพในการดำเนินการ NCDS remission Clinic, พัฒนาคู่มือแนวทางการดำเนินงาน / ระบบรายงานข้อมูล 3) ให้ความรู้ อสม. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชน เชิญชวนกลุ่มเสี่ยงเข้าศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs พร้อมทั้งเป็นพี่เลี้ยงและติดตามผลตำบลตะเครียะ มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 305 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.47 ของประชากร ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 652 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.25 ของประชากร กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 164 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.09 ของประชากร กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 196 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.09 ของประชากร ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลตะเครียะ ได้เห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง เพื่อให้กลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมที่ถูกต้อง เพื่อลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในอนาคต ต่อไป
-
1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถดูแลสุขภาพตนเองได่้ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละท 80ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้และความสมารถดูแลสุขภาพของตนเอง ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคุมระดับความดันโลหิตหรือระดับน้ำตาลและป้องกันการเกิดภาวะแทรกว้อนได้ ร้อยละ 80ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. ลดการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ในประชากรกลุ่มเสี่ยงตัวชี้วัด : ผู้ป่วยรายใหม่โรคเรื้อรัง ลดลง ร้อยละ 5ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. 1. สำรวจชื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในพื้นที่พร้อมทั้งคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม 2. จัดให้อบรมส่งเสริมความรู้กลุ่มเป้าหมายในการดูแลสุขภาพ โดยแยกเป็น 5 รุ่นๆ ละ 30 คน รุ่นละ 1 วันรายละเอียด
.1. คู่มือการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 150 เล่มๆละ 50 บาท เป็นเงิน7,500 บาท 2. อาหารว่าง และเครื่องดื่ม จำนวน 150 คน 2 มื้อๆละ 30 บาท 150 คน เป็นเงิน 9,000 บาท 3. อาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 60 บาท 150 คน เป็นเงิน 9,000 บาท 4. ค่าตอบแทนวิทยากรวันละ 5 ชม.ๆละ 600 บาท 5 วัน เป็นเงิน 15000 บาท 5. วัสดุอุปกรณ์ในการอบรม ( ปากกา กระดาษ สมุด ) เป็นเงิน 6,000 บาท 6. เครื่องชั่งน้ำหนักและวัดองคืประกอบร่างกาย เป็นเงิน 5300 บาท รวมเป็นเงิน51800 บาท
งบประมาณ 51,800.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ
รวมงบประมาณโครงการ 51,800.00 บาท
หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้
1.ประซากรกลุ่มเสียงโรคเรื้อรังมีความรู้หารใจใจในการแลทุเพที่ถูกทั้งการารถามกาถะมาทของตนเองและคนในครอบครัว ได้ 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 80 3.ประชากรกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังสามามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคุมระดับความตันโลหิตหรือระดับน้ำตาลและบันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ ร้อยละ80 4.ผู้ป่วยรายใหม่โรคเรื้อรังลดลง ร้อยละ 5
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ รหัส กปท. L5220
อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ รหัส กปท. L5220
อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................