กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ตำบลปุลากง ปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ

อาสาสมัครสาธารรณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลปุลากง

1. นายมูฮัมมัดสุปรี อารง
2. นางสาวฮาซีพะห์ ลาเต๊ะ
3. นายอับดุลมานัฟ สาอิ
4.นางสาวมารียานา อีแต
5. นางสาวสุไรดา ดาราแม็ง/เจ้าหน้าที่ รพ.สต.

ตำบลปุลากง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

30.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

40.00
3 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

 

10.00
4 ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2

 

25.00
5 ในปัจจุบันความทันสมัยของเทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากขึ้น ส่งผลให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดโรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม มีอัตราอุบัติการณ์การเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป

 

25.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง

30.00 20.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง

40.00 30.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง

10.00 8.00
4 เพื่อลดภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ของประชากร (อายุมากกว่า 18 ปี)

ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2

25.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข 40
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ 33

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย คือ แกนนำ อสม.รพ.สต. และเจ้าหน้าที่ รพสต. เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคนไทยไร้โรค NCD

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย คือ แกนนำ อสม.รพ.สต. และเจ้าหน้าที่ รพสต. เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคนไทยไร้โรค NCD
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน จํานวน 70 คน x 60 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 4,200 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จํานวน 70 คน x 30 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 4,200 บาท
  • ค่าอุปกรณ์ทำเมนูอาหารสาธิต เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าวิทยากร จํานวน 5 ชั่วโมง ๆ ละ ่ 600 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท
    -ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.25 เมตร x 2.4 เมตร เป็นเงิน 750 บาท
    -ค่าโมเดลอาหารแลกเปลี่ยนชุดใหญ่ (52ชิ้น) เป็นเงิน 9,000 บาท
    -ค่าสมุดประจำตัว ศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs จำนวน 70 เล่ม x 50 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมที่เข้าร่วมโครงการ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมใน เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม และ ค่าดัชนีมวลกายลดลง หรือ อยู่ในเกณฑ์ ปกติร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26650.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เป็นกิจกรรมการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ชั่งน้ำหนัก วัด ส่วนสูง ประมวลค่าBMI ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และวัดระดับไขมันในช่องท้องแก่กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่และ อสม หรืออสม.ในเขตรับผิดชอบ
- ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์ในการประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้นของผู้เข้าร่วมอบรมฯเนื่องจากทาง รพ.สต.มีอุปกรณ์ไม่เพียงพอ ได้แก่ เครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล เครื่องวัดองค์ประกอบในร่างกาย จำนวน 1 เครื่อง ราคา 4,000 บาท
- เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือดปลายนิ้ว จำนวน 1 เครื่อง ราคา 2,500 บาท
- แถบตรวจวัดน้ำตาลในเลือด 100 ชิ้น/กล่อง จำนวน 1 กล่อง ราคา 1,400 บาท
- ค่าอาหารว่าง 30 บาท * 70 คนเป็นเงิน 2,100 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประมวลค่า BMI ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และวัดระดับไขมันในช่องท้อง และได้เรียนรู้การปรับพฤติกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 36,650.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>