กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ รหัส กปท. L4117

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการปฏิวัติสุขภาพกายและจิต ปฏิวัติชีวิต สร้างเสริมสุขภาพสตรีและผู้สูงอายุด้วยการแพทย์ทางเลือก
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ
กลุ่มคน
นางสาวมาดีฮะฮ์ ตือร๊ะ
3.
หลักการและเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพ เป็นมิติหนึ่งทางสุขภาพที่มีความสำคัญมากที่จะช่วยให้เราดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติสุข ในการส่งเสริมสุขภาพจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของมิติสุขภาพ เข้าใจหลักและวิธีปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง การที่ประชาชนจะหันมาใส่ใจดูแลสุขภาพของตนเองนั้นจะเกิดขึ้นต่อเมื่อความเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับตนเองแล้วเท่านั้น ซึ่งการปฏิบัติตัวแบบนี้เป็นการรักษาตนเองที่ปลายเหตุไม่มีทางที่จะใช้ชีวิตโดยปราศจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้ การจัดการกับปัญหาด้านสุขภาพที่ต้นเหตุของปัญหาต่างหากที่จะสามารถรักษาร่างกายของมนุษย์ให้ดำรงชีวิตอยู่แบบปราศจากโรคภัย. สาเหตุที่ทำให้ประชาชนเกิดปัญหาทางสุขภาพมากที่สุด คือ การบริโภคอาหารที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ รวมไปถึงการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอและปัญหาต่าง ๆที่ตามมาอีกมากมาย การหันกลับมาสนใจการใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติตามแนวคิดทฤษฎีการแพทย์ทางเลือกที่มุ่งดูแลสุขภาพแบบองค์รวมโดยมองมิติทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสิ่งแวดล้อมสิ่งเหล่านี้ช่วยเพิ่มความสมดุลให้กับชีวิตมนุษย์ การเพิ่มพูนความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมให้แก่ประชาชนและชุมชนให้สามารถดูแลตัวเองได้จึงนำมาสู่การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพห่างไกลโรคที่แท้จริง การส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มวัยต่างๆให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยการจัดการดูแลปัญหาสุขภาพ แบบบูรณาการร่วมกันทุกภาคส่วนภายใต้บริบทของพื้นที่ในการส่งเสริมสุขภาพใน 5 กลุ่มวัย (กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย กลุ่มเด็กวัยเรียน กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ)ให้มีสุขภาพที่ดี เริ่มตั้งแต่ สตรีและเด็กปฐมวัย มีการตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กพัฒนาการสมวัย เด็กวัยเรียน วัยรุ่นเจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ วัยทำงานสุขภาพแข็งแรง ฉลาดรอบรู้และ เตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ส่งผลให้ผู้สูงอายุสุขภาพดีดูแลตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดี หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เป็นกลุ่มที่มีความเปราะบางต่อการเกิดปัญหาสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตอารมณ์ และสังคม ซึ่งต้องการการประเมินและให้การดูแลที่เหมาะสม เนื่องจากขณะตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายมากมาย ทั้งในด้านกายวิภาค และสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงจะดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด เช่น การเปลี่ยนแปลงช่องคลอด ปากช่องคลอด มดลูก กล้ามเนื้อ กระดูก ผิวหนังบริเวณหน้าท้องจะขยายทำให้หน้าท้องลาย และการเปลี่ยนแปลงที่เต้านมเมื่อคลอดบุตร โดยปกติระยะหลังคลอด ร่างกายก็จะมีการ
ปรับตัวให้เข้าสู่สภาพปกติได้เอง มดลูกมีขนาดเล็กลงเท่าก่อนตั้งครรภ์ ท้องจะลดลง เริ่มทานอาหารได้ปกติ ผิวพรรณสดใส แต่ในระยะหลังคลอดจะยังคงมีร่องรอยของการผ่านการตั้งครรภ์และการคลอดลูก ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้หญิงส่วนใหญ่ไม่พึงปรารถนา เช่น มีไขมันหน้าท้องมาก ผิวหน้า ตกกระ ด่างดำ ผิวหนังบริเวณคอ รักแร้ ขาหนีบคล้ำ ผิวหนังหย่อนยาน ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ตามหลัง น่อง หรือบางรายเมื่อเวลาผ่านไประยะหนึ่งจะมีอาการหนาวสะท้านเมื่อเจอลมฝน นานวันเข้ากลายเป็นคนสุขภาพไม่แข็งแรง สิ่งเหล่านี้ถูกถ่ายทอดด้วยการบอกเล่าจากรุ่นสู่รุ่น บอกกล่าวว่าถ้าได้อยู่ไฟแล้วจะทำให้ร่างกายแข็งแรงและส่งผลดีต่อสุขภาพโดยการรักษาความอบอุ่นของร่างกาย พักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารที่ถูกต้อง การได้รับการนวดฟื้นฟูสุขภาพ อบไอน้ำสมุนไพร ทับหม้อเกลือ การใช้ผ้ารัดหน้าท้อง และการรับประทานยาสมุนไพรในการขับน้ำคาวปลา และบำรุงเลือด และบำรุงน้ำนม ซึ่งเป้าหมายการดูแลหญิงหลังคลอด คือการช่วยให้มารดาหลังคลอดสามารถดูแลตนเอง ดูแลทารก และดำรงบทบาทการเป็นมารดาได้เหมาะสม ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มักเกี่ยวกับโรคกระดูกและข้อเนื่องจากอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และข้อที่เสื่อมมากที่สุดคือข้อเข่า เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อที่ต้องรองรับน้ำหนักของร่างกายโดยตรง ทั้งยังทำหน้าที่เคลื่อนไหวตลอดเวลา ทำให้ข้อเสื่อมได้ง่าย โรคข้อเข่าเสื่อม หมายถึง การที่กระดูกอ่อนของข้อมีการเสื่อมสภาพ ทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถเป็นเบาะรองรับน้ำหนักและมีการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำหล่อเลี้ยงเข่าทำให้มีอาการปวด บวม แดงร้อนที่เข่า ซึ่งเป็นโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงการเสื่อมในกลุ่มอายุที่มีอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ตำแหน่งของข้อที่มีการเสื่อม ได้แก่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อมือ กระดูกสันหลัง และข้อเท้า แต่ข้อที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อการเจ็บป่วย และต้องเข้ารับบริการมากที่สุด คือ ข้อเข่า ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว โดยทั่วไปจะรับการรักษาด้วยยา เช่น ยาแก้ปวดลดการอักสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์(NSAIDs) ยาคลายกล้ามเนื้อ ซึ่งยาดังกล่าวหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดผลข้างเคียงได้ เช่น แผลในกระเพาะอาหาร ไตวาย และความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ ได้ตระหนักถึงการลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน ที่เป็นสาเหตุผลข้างเคียงของยาดังกล่าว อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต จึงนำศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม โดยจัดเป็นโปรแกรมบรรเทาอาการปวดเข่า ซึ่งมีกิจกรรม คือการนวดกดจุดสัญญาณ, การใช้สมุนไพรพอกเข่า ท่าบริหารกล้ามเนื้อด้วยท่าฤาษีดัดตน และการให้คำแนะนำ เพื่อลดอาการปวดเข่า อีกทั้งช่วยลดปัญหาผลข้างเคียงจากการใช้ยาแผนปัจจุบัน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ จึงได้จัดทำโครงการดูแลผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมเพื่อบำบัดผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อมให้มีอาการปวดลดลง ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถใช้สมุนไพรในท้องถิ่นนำมาทำยาพอกเข่าตลอดจนเป็นการอนุรักษ์และตระหนักถึงคุณค่าในภูมิปัญญาไทยอีกด้วย

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนแนวคิดการดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด และกิจกรรมบริบาลมารดาหลังคลอดครบตามเกณฑ์
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 52 คน X 30 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน   3,120 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน 52 คน X 60 บาท X 1 มื้อ                    เป็นเงิน    3,120 บาท
    • ค่าวิทยากร 5 ชั่วโมง X 300 บาท                    เป็นเงิน    1,500 บาท
    • ค่ายาสมุนไพรบดแห้งละเอียด ได้แก่
                      1.ไพล  500 บาท 2.ว่านนางคำ  500 บาท 3.ว่านชักมดลูก 300 บาท 4.พิมเสน 700 บาท 5.การบูร  500 บาท 6.ยาอบ  2,500 บาท
      รวมค่ายาสมุนไพรบดแห้ง เป็นเงิน    5,000 บาท  กิจกรรมผู้สูงอายุสดใสห่วงใยสุขภาพ กิจกรรมอบรมให้ความรู้และวิธีการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์ทางเลือกและกิจกรรมนวดกดจุดข้อเข่าพร้อมพอกเข่าด้วยสมุนไพร
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน X 30 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน   1,800 บาท           - ค่าอาหารกลางวัน 30 คน X 60 บาท X 1 มื้อ                  เป็นเงิน    1,800 บาท           - ค่าวิทยากร 5 ชั่วโมง X 300 บาท                    เป็นเงิน    1,500 บาท           - ค่ายาปรุงเฉพาะราย(ยาพอกเข่า) บดเป็นผงละเอียดรวมกัน ได้แก่  1. ฟ้าทะลายโจร  2. ขิง  3.ขมิ้นชัน
    1. เถาวัลย์เปรียง  5.ตำรับยาห้าราก  6. พิมเสน  7.การบูร เป็นเงิน    2,160 บาท

              - ค่าป้ายไวนิลโครงการฯ ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร เป็นเงิน    720 บาท
    งบประมาณทั้งสิ้น 20,720.- บาท (เงินสองหมื่นเจ็ดร้อยยี่สิบบาทถ้วน)

    งบประมาณ 20,720.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 26 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 20,720.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ รหัส กปท. L4117

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ รหัส กปท. L4117

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 20,720.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................