กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะบิ้ง
กลุ่มคน
1. นายสามัน ดอเลาะ
2. นางอามีเร๊าะ เจ๊ะเกาะอูเซ็ง
3. นางสาวซาลิสา สะแลแม
3.
หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทที่มีการเข้าถึงข้อมูลและการรักษาไม่เพียงพอ ผู้ป่วยมักมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่ดี การขาดการออกกำลังกาย และการไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำจากแพทย์ ซึ่งอาจทำให้โรคมีความรุนแรงมากขึ้นและนำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง และผู้ดูแลค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง เป็นต้น ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ของประชาชนประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถึชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทาง โภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียดทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุ การนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควรซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลตะบิ้ง ในปีงบประมาณ 2567พบว่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะบิ้ง มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิต จำนวน 113 คนผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 20 คนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 18 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้100 คน คิดเป็นร้อยละ 88.50ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลใน เลือดได้ 16 คน คิดเป็นร้อยละ 80 และจากการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่ม ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน1,117 คนพบว่ามีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน239 คนคิดเป็นร้อยละ 21.40 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะบิ้ง ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยในตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี โดยใช้วิธีการให้ความรู้และสนับสนุนการปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงในตำบลตะบิ้งมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ร้อยละ 60
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 60.00
  • 2. 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกาย
    ตัวชี้วัด : การติดตามการบันทึกพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายของผู้ป่วย
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. 3. เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยสามารถควบคุมเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เช่น สาเหตุ อาการ และวิธีการดูแลตนเอง โดยเชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญมาบรรยาย
    รายละเอียด

    1.1 ค่าอาหารและเครื่องดื่ม 1 มื้อ สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 70 คนๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท 1.2 ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อ สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 70 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท 1.3 ค่าป้ายโครงการฯ 1 x 3 เมตร เป็นเงิน 750 บาท 1.4 คู่มือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 60 ชุดๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท 1.5 ค่าวิทยากร 1 ท่าน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท

    งบประมาณ 13,950.00 บาท
  • 2. 2. กิจกรรมคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ตรวจตา ไต เท้า โรคหัวใจและหลอดเลือด) ในผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง จากทีมงานโรงพยาบาลแม่ข่าย
    รายละเอียด

    2.1 ค่าอาหารและเครื่องดื่ม 1 มื้อ สำหรับทีมงานคัดกรองภาวะแทรกซ้อนจากโรงพยาบาลแม่ข่าย
    จำนวน 5 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 300 บาท 2.2 ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อ สำหรับทีมงานคัดกรองภาวะแทรกซ้อนจากโรงพยาบาลแม่ข่าย จำนวน 5 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 300 บาท 2.3 ค่าเดินทางสำหรับทีมงานจากโรงพยาบาลแม่ข่าย เป็นเงิน 300 บาท 2.4 อุปกรณ์ตรวจเท้า จำนวน 2 เครื่องๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

    งบประมาณ 1,900.00 บาท
  • 3. 3. กิจกรรมสาธิตการออกกำลังกายโดยนักกายภาพ
    รายละเอียด

    3.1 ค่าวิทยากร 1 ท่าน 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท 1 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท

    งบประมาณ 1,200.00 บาท
  • 4. 4. สาธิตอาหารที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    รายละเอียด

    4.1 ค่าจัดซื้อสื่อการสอน และวัสดุอุปกรณ์ประกอบโครงการ เป็นเงิน 2,000 บาท

    งบประมาณ 2,000.00 บาท
  • 5. 5. ติดตามผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงหลังเข้าร่วมโครงการ
    รายละเอียด

    ติดตามผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงหลังเข้าร่วมโครงการ โดยจัดให้มีการตรวจสุขภาพ เช่น การวัดระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตในช่วงเริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการ 5.1 เครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือดจำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 1,550 บาท 5.2 เครื่องวัดความดันโลหิตสูงแบบพกพาจำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 1,550 บาท

    งบประมาณ 3,100.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 50 คน

แกนนำอสม. 12 คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะบิ้ง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 22,150.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้ป่วยมีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสมในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  2. ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้เหมาะสมและออกกำลังกายที่บ้านได้เอง
  3. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  4. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ดี
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 22,150.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................