กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง รหัส กปท. L5185

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมพัฒนาการสมวัยในเด็กปฐมวัย “พัฒนาทักษะสมอง (Executive Function : EF)
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
องค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิง
3.
หลักการและเหตุผล

ครูปฐมวัยเป็นวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นวิชาชีพชั้นสูงต้องใช้ศิลป์และศาสตร์ในการปฏิบัติงาน จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาวิชาชีพครู ให้มีมาตรฐานสูงให้เป็นที่ยอมรับในสังคม ขณะเดียวกันก็จำเป็นต้องก้าวทันกระแสการเปลี่ยนแปลงของวิทยาการ เทคโนโลยี ค่านิยม วัฒนธรรมทางสังคม การปฏิบัติงานของครูปฐมวัยไม่ได้จำกัดอยู่เพียงการสอน (Teaching) ในห้องเรียนเท่านั้น การจัดการเรียนการสอนของครูปฐมวัยส่วนใหญ่มักจะเป็นไปในลักษณะที่ใช้พื้นฐานความรู้เดิม ความสนใจส่วนตัว และประสบการณ์เดิม มีครูปฐมวัยจำนวนน้อยมากที่ใช้การวิจัยเป็นเครื่องมือเพื่อนำผลการวิจัยมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนางานของตน ซึ่งการที่ครูปฐมวัยจะพัฒนาตนเองไปสู่การทำงานที่เป็นระบบเข้าถึงเด็กและรู้ทันการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งสามารถจัดการเรียนการสอนอย่างครูปฐมวัยมืออาชีพ เป้าหมายการเป็นครูปฐมวัยมืออาชีพได้ตาม พรบ. การศึกษาแห่งชาติ มาตรา 30 ซึ่งเด็กจะได้เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพและมีความสุข เพื่อไม่ให้เป็นการปิดกั้นการพัฒนาสมองของเด็กตามวัยที่เหมาะสม เมื่อการศึกษาในระดับปฐมวัยเน้นแต่ด้านวิชาการทำให้ระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนส่วนใหญ่ก็เป็นไปตามนั้นทำให้เด็กมีโอกาสในการเล่น รวมถึงการเรียนทักษะต่าง ๆ ที่ควรฝึกในช่วงปฐมวัยลดลง เช่น การฝึกกล้ามเนื้อการปลูกฝังมารยาทและจิตสำนึก หรือแม้แต่การฝึกการเข้าสังคมกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน จากการวิจัยพบว่า เมื่อเด็ก ๆเริ่มเรียนวิชาการตั้งแต่ในระดับปฐมวัยในปริมาณที่มากเกินไป ทำให้เกิดการปิดกั้นการพัฒนาสมองของเด็กในด้านอื่นๆ เช่น ความคิดสร้างสรรค์และการคิดแก้ปัญหา เพราะในความจริงแล้วเด็กปฐมวัยต้องการการฝึกฝนทักษะทางการสังเกต และการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ที่เกิดจากการได้เล่น ได้เรียนรู้ ทดลอง และลงมือทำด้วยตนเอง ที่จะเป็นการเพิ่มความสามารถของพวกเขาเพื่อเป็นการกระตุ้นให้สมองให้พัฒนาได้อย่างเต็มความ สามารถ ที่ทำให้เซลล์สมองสามารถแตกแขนงออกไปได้มาก เตรียมพร้อมสำหรับการพัฒนาของช่วงต่อไปเมื่อโตขึ้น แต่เมื่อเด็กไม่ได้รับการฝึกทักษะทางด้านนี้อย่างเต็มที่ แต่กลับถูกจำกัดให้เรียนแต่ด้านวิชาการ ทำให้มีแค่เซลล์สมองส่วนความ จำเท่านั้นที่พัฒนา ในขณะที่เซลล์สมองอื่นๆ ของเด็กไม่แตกแขนง และไม่ได้พัฒนาอย่างที่ควรจะเป็นอย่างเหมาะสมตามวัยและเมื่อเลยวัยนี้ไปแล้ว ก็เป็นการยากที่จะกลับมาพัฒนาได้อีก เพื่อลดความเลื่อมล้ำโอกาสใน การศึกษา จึงมีความจำเป็นอย่างมากที่ควรเข้าไปส่งเสริมพัฒนาเด็ก ทักษะสมอง Executive Functions (EF) คือทักษะที่จะช่วยให้เด็ก “คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับคนอื่นเป็น และหาความสุขเป็น”EF ช่วยให้เด็กมีเหตุมีผล ยับยั้งชั่งใจได้ กำกับอารมณ์และพฤติกรรมตนเองได้ วางแผนทำงานเป็น ใจจดจ่อ ทำการใดไม่วอกแวก จดจำประสบการณ์ในอดีต มาเชื่อมโยงกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และคาดการณ์ผลในอนาคตได้ ช่วยให้เด็กจัดการกับงานหลาย ๆ อย่างให้ลุล่วงเรียบร้อยได้ จัดลำดับงานเป็นขั้นเป็นตอน ยึดเป้าหมายแล้วมุ่งมั่น พากเพียร ทำไปเป็นขั้นตอนจนสำเร็จ EFช่วยให้เด็กพัฒนาตนจากการมีชีวิตที่มีคุณค่าแห่งคุณงามความดี บ่มเพาะคุณธรรม จริยธรรม ดำเนินชีวิตที่ดี นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อและพฤติกรรมที่ดีงามซึ่งช่วงปฐมวัยจึงเป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดในการสร้างมนุษย์ให้ก้าวหน้าและมีคุณค่าต่อสังคม เพราะเซลล์ประสาทในสมองของเด็ก อายุ ๓-๖ ปี จะมีการเจริญเติบโตรวดเร็วมากหรือเป็นช่วง “หน้าต่างแห่งโอกาส” ที่จะพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้าให้สามารถควบคุมความรู้สึก การคิดและการกระทำหรือเรียกว่าทักษะสมอง EF( Executive Functions) “ความสามารถของสมองในการบริหารจัดการชีวิต” เพราะการวางพื้นฐานด้านพฤติกรรมและบุคลิกภาพของมนุษย์ในช่วงอายุแรกเกิด ถึง ๖ ปี เป็นช่วงวัยที่เหมาะสมในการสร้างภูมิคุ้มกันชีวิตจากผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเด็กนับตั้งแต่ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ครู และชุมชน ที่จะเข้าร่วมในการเตรียมความพร้อมให้เด็กเติบโตอย่างเต็มศักยภาพและสร้างพฤติกรรมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับเด็ก ในโลกแห่งศตวรรษที่ ๒๑ โดยไม่ตกเป็นเหยื่อของผลจากการพัฒนาที่เป็นไปอย่างรุนแรง รวดเร็วและซับซ้อน ครูปฐมวัยจึงมีบทบาทและหน้าที่โดยตรงที่จะเป็นผู้วางรากฐานให้เด็กสามารถ “คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับคนอื่นเป็น และมีความสุขเป็น”


ดังนั้น กองการศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการสมวัยในเด็กปฐมวัย “พัฒนาทักษะสมอง (Executive Function : EF)เพื่อให้ครูผู้สอนปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรม สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้จัดกิจกรรม เป็นกิจกรรมที่กลุ่มเป้าหมายจะได้นำความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย อีกทั้งยังเป็นการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ซึ่งเป็นพันธกิจหลักของกองการศึกษา และสามารถนำผลงานและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะสมอง (Executive Function : EF) เพื่อชีวิตที่สำเร็จของเด็กปฐมวัยมาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ได้ รวมทั้งเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้อย่างมีความสุข

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกิดทักษะสมอง EF โดยการใช้กิจกรรมเป็นสื่อ
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 40.00
  • 2. ให้ครูปฐมวัย ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรม สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้จัดกิจกรรม สามารถนำผลงานและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะสมอง (Executive Function : EF)
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 52.00 เป้าหมาย 52.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
    รายละเอียด

    พัฒนาทักษะสมอง (Executive Function : EF)และพัฒนาครูต้นแบบ

    งบประมาณ 7,960.00 บาท
  • 2. สร้างความเข้าใจพัฒนาการของเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครอง
    รายละเอียด

    อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการใช้ชุดประเมินพัฒนาการเด็ก DSPM

    งบประมาณ 6,900.00 บาท
  • 3. ติดตามและประเมินผล
    รายละเอียด

    ติดตามและประเมินผลพัฒนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 พฤษภาคม 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลป่าชิง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 14,860.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ครูปฐมวัย ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรม สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้จัดกิจกรรม สามารถนำผลงานและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะสมอง (Executive Function : EF)
  2. เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกิดทักษะสมอง EF โดยการใช้กิจกรรมเป็นสื่อที่หลากหลาย
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง รหัส กปท. L5185

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง รหัส กปท. L5185

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 14,860.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................