2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
การเสริมสร้างทุนสมองและพัฒนาระดับสติปัญญาในเด็กปฐมวัยเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการสร้างประชากรที่มีคุณภาพต่อประเทศชาติในอนาคต ช่วงเด็กปฐมภูมิเป็นช่วงสำคัญจำคัญต้องได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้อง เริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิ เจริญเติบโตอยู่ใดอยู่ในครรภ์ของมารดา เมื่อคลอดออกมาก็มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย ๖ เดือน มีการเจริญเติบโตที่ดี มีพัฒนาการวัย และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี การสร้างเสริมพัฒนาการตั้งแต่ช่วงอาย ๒ ปีแรก สามารถพยากรณ์ระดับสติปัญญาของเด็กเมื่อเจริญเติบโดไปใต้
องค์การอนามัยโลกขี้ให้เห็น ๔ ปัจจัยที่สำคัญส่งผลต่อระดับสติปัญญาเด็ก ได้แก่ ธาตุเหล็ก ไอโอดีน ส่วนสูงของเด็ก และการเลี้ยงดู ดังนั้นโกชนาการที่ดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์จนถึงช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นช่วงวิกฤตของการพัฒนาสมองและการเจริญเติบโต การได้รับอาหารและ
โภชนาการที่เหมาะสมในช่วงนี้จึงมีบทบาทสำทสำคัญต่อสุขภาพในระยะยาว นอกจากนั้นปัญหาทุพโภชนาการในสองปีแรกของชีวิต ทั้งอ้วนและผอม เป็นปัจจัยสำคัญที่ขัดขวางพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก ส่งผลให้เรียบรู้ช้า เฉื่อยขา สติปัญญาต่ำ ภูมิต้านทานโรค
บกพร่อง ทำให้เจ็บป่วยบ่อย เป็นนานและรุนแรง ถ้าเด็กสูงตีสมส่วนก็จะมีระดับสติปัญญาที่แตกต่างจากเด็กที่เตี้ยและค่อนข้างเลี้ย ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ยังมีผลเสียเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ มีโอกาสที่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น เช่น โรคเบาหวาน โรคความตันโลหิตสูง
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคปอดเรื้อรัง และโรคมะเร็งในวัยผู้ใหญ่จากการสำรวจ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสุเหร่า พบว่า เด็ก ๐-๕ ปี จ้านวน ๒๕๖ คน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๘๔.๒๔ เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ ๑๐..๙๖ ได้รับการติดตามกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการ ร้อยละ ๑๐๐๐๐ มีรูปร่างสูงตีสมส่วน ร้อยละ ๗๑.๙๑ มีพื้นผู้ ร้อยละ ๒๕๒๕.๐๐ พบภาวะชัด ร้อยละ ๕ และได้รับวัดขืนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ ๑ ปี, ๒ ปี, ๓ ปี และ ๕ ร้อยละ ๑๙๓.๙๕,๓๖,๖๓,b๐.๐๐,๒๕.๖๔ นอกจากนี้สาเหตุสำเหตุสำคัญของปัญหายังเกิดจากเด็กอายุ ๐๐๕ ปีไม่ได้การดูแลเฝ้าระวัง กระต้นและส่งเสริมพัฒนาการ ภาวะโกชนาการตามช่วงวัยอย่างเพียงพอและเหมาะสมทั้งจากครอบครัว ชุมชน รวมถึงหน่วยบริการที่ดูแลเด็กเหล่านี้อยู่ เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนระดับอนุบาล เป็นต้น
ดังนั้นการเชื่อมประสานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องให้เข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนและให้มีการดูแล ส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ช่วงการคลอด พ่อแม่ ผู้เสื้องดูเด็กปฐมวัยให้เกิดความรอบรู้และความตระหนักในการปฏิบัฏิบัติคนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสมดามช่วงวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านโภชนาการ ทันตสุขภาพ การใต้รับวัดขึ้น การตรวจภาวะโลหิตจาง และพัฒนาการให้สามารถเฝ้าระวัง กระตุ้น ส่งเสริม แก้ไขปัญหาและบอกต่อกับผู้อื่นได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพดำบลตอนจึงทำโครงทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยตำบลท่าน้ำปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ขึ้น โดยมุ่งหวังให้เกิดการดำเนินงานแก้ไขปัญหาในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง มุ่งหวังให้เกิดมาตรการทางสังคมในการดูแลเด็ก เกิดผลลัพธ์ที่คาดหวังอย่างเป็นรูปธรรม คือ สตรีมีการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพ การคลอดที่ปลอดภัย รวมทั้งเด็กปฐปฐมวัยในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า มีสุขภาวะที่ รับวัคชีนครบพัฒนาการสมวัย สูงตีสมส่วน ไม่มีภาวะซีด และฟันดีไม่ผุ เป็นประชากรที่มีคุณภาพของประเทศต่อไป
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 28/05/2025
กำหนดเสร็จ 28/05/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?