กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยตำบลท่าน้ำ ปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ L2994-01-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพสต.บ้านสุเหร่า
วันที่อนุมัติ 8 เมษายน 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 28 พฤษภาคม 2568 - 28 พฤษภาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 29,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรอมล๊ะ เวาะลี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การเสริมสร้างทุนสมองและพัฒนาระดับสติปัญญาในเด็กปฐมวัยเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการสร้างประชากรที่มีคุณภาพต่อประเทศชาติในอนาคต ช่วงเด็กปฐมภูมิเป็นช่วงสำคัญจำคัญต้องได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้อง เริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิ เจริญเติบโตอยู่ใดอยู่ในครรภ์ของมารดา เมื่อคลอดออกมาก็มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย ๖ เดือน มีการเจริญเติบโตที่ดี มีพัฒนาการวัย และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี การสร้างเสริมพัฒนาการตั้งแต่ช่วงอาย ๒ ปีแรก สามารถพยากรณ์ระดับสติปัญญาของเด็กเมื่อเจริญเติบโดไปใต้ องค์การอนามัยโลกขี้ให้เห็น ๔ ปัจจัยที่สำคัญส่งผลต่อระดับสติปัญญาเด็ก ได้แก่ ธาตุเหล็ก ไอโอดีน ส่วนสูงของเด็ก และการเลี้ยงดู ดังนั้นโกชนาการที่ดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์จนถึงช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นช่วงวิกฤตของการพัฒนาสมองและการเจริญเติบโต การได้รับอาหารและ โภชนาการที่เหมาะสมในช่วงนี้จึงมีบทบาทสำทสำคัญต่อสุขภาพในระยะยาว นอกจากนั้นปัญหาทุพโภชนาการในสองปีแรกของชีวิต ทั้งอ้วนและผอม เป็นปัจจัยสำคัญที่ขัดขวางพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก ส่งผลให้เรียบรู้ช้า เฉื่อยขา สติปัญญาต่ำ ภูมิต้านทานโรค บกพร่อง ทำให้เจ็บป่วยบ่อย เป็นนานและรุนแรง ถ้าเด็กสูงตีสมส่วนก็จะมีระดับสติปัญญาที่แตกต่างจากเด็กที่เตี้ยและค่อนข้างเลี้ย ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ยังมีผลเสียเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ มีโอกาสที่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น เช่น โรคเบาหวาน โรคความตันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคปอดเรื้อรัง และโรคมะเร็งในวัยผู้ใหญ่จากการสำรวจ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสุเหร่า พบว่า เด็ก ๐-๕ ปี จ้านวน ๒๕๖ คน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๘๔.๒๔ เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ ๑๐..๙๖ ได้รับการติดตามกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการ ร้อยละ ๑๐๐๐๐ มีรูปร่างสูงตีสมส่วน ร้อยละ ๗๑.๙๑ มีพื้นผู้ ร้อยละ ๒๕๒๕.๐๐ พบภาวะชัด ร้อยละ ๕ และได้รับวัดขืนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ ๑ ปี, ๒ ปี, ๓ ปี และ ๕ ร้อยละ ๑๙๓.๙๕,๓๖,๖๓,b๐.๐๐,๒๕.๖๔ นอกจากนี้สาเหตุสำเหตุสำคัญของปัญหายังเกิดจากเด็กอายุ ๐๐๕ ปีไม่ได้การดูแลเฝ้าระวัง กระต้นและส่งเสริมพัฒนาการ ภาวะโกชนาการตามช่วงวัยอย่างเพียงพอและเหมาะสมทั้งจากครอบครัว ชุมชน รวมถึงหน่วยบริการที่ดูแลเด็กเหล่านี้อยู่ เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนระดับอนุบาล เป็นต้น ดังนั้นการเชื่อมประสานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องให้เข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนและให้มีการดูแล ส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ช่วงการคลอด พ่อแม่ ผู้เสื้องดูเด็กปฐมวัยให้เกิดความรอบรู้และความตระหนักในการปฏิบัฏิบัติคนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสมดามช่วงวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านโภชนาการ ทันตสุขภาพ การใต้รับวัดขึ้น การตรวจภาวะโลหิตจาง และพัฒนาการให้สามารถเฝ้าระวัง กระตุ้น ส่งเสริม แก้ไขปัญหาและบอกต่อกับผู้อื่นได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพดำบลตอนจึงทำโครงทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยตำบลท่าน้ำปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ขึ้น โดยมุ่งหวังให้เกิดการดำเนินงานแก้ไขปัญหาในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง มุ่งหวังให้เกิดมาตรการทางสังคมในการดูแลเด็ก เกิดผลลัพธ์ที่คาดหวังอย่างเป็นรูปธรรม คือ สตรีมีการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพ การคลอดที่ปลอดภัย รวมทั้งเด็กปฐปฐมวัยในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า มีสุขภาวะที่ รับวัคชีนครบพัฒนาการสมวัย สูงตีสมส่วน ไม่มีภาวะซีด และฟันดีไม่ผุ เป็นประชากรที่มีคุณภาพของประเทศต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนและผู้เกี่ยวข้องใน การดูแลสตรีและเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปีเด็ก

โลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่าร้อยละ ๑๔

0.00
2 2.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนในระพับหมู่บ้าน ในการดูแลและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ เด็ก ปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ฝากครรภ์คุณภาพ ร้อยละ ๗๕

0.00
3 3.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับสตรีตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เด็กมีสุขภาวะดี รับวัคชีนครบ พัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ไม่มีภาวะขีด และฟันดี ๓.ร้อยละ ๖๐ ของเด็ก ๐-๕ ปี ไม่ซีด ไม่ผุ)

เด็กปฐมวัย 1.ร้อยละ 50 ของเด็ก 0-6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว 2.ร้อยละ 66 ของเด็ก 0-5 ปี ผ่านเกณฑ์ สูงดีสมส่วน 3.ร้อยละ 60 ของเด็ก 0-5 ปี ไม่ซีด 4.ร้อยละ 85 ของเด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย 5.ร้อยละ 50 ของเด็ก 3 ปี ได้รับการตรวจฟัน 3. 4. 5.

0.00
4 4.เพื่อให้ทีมระดับตำบลติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย

 

0.00
5 5.เพื่อสร้างกระแส สร้างความตระหนักเรื่องของเด็ก Smart kids ให้แก่ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 29,000.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรมที่ 1 ประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่แกนนำชุมชน (อสม.ผู้นำชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง) และผู้ปกครองผู้ดูแลเด็ก ด้านโภชนาการ พัฒนาการ ฟัน ภาวะซีด วัคซีน 0 18,700.00 -
??/??/???? กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ สามีและญาติ 0 10,300.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 เม.ย. 2568 00:00 น.