แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ รหัส กปท. L6959
อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
การดูแลหญิงมีครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของแม่และเด็ก เพราะหากหญิงมีครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้ว จะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่น โรคธาลัสซีเมีย เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง ภาวะคลอดก่อนกำหนด ปัญหาสุขภาพช่องปากที่ส่งผลกระทบต่อตั้งครรภ์ลทารกในครรภ์ เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้ถ้าไม่ได้รับการดูแลและแก้ไขต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีขณะตั้งครรภ์แล้ว จะส่งผลกระทบต่อแม่และเด็กในด้านความเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างคลอด และหลังคลอด จากรายงานการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ ในปีงบประมาณ 2567 พบว่า จำนวนหญิงมีครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์มีจำนวนทั้งสิ้น 87 คน ซึ่งร้อยละ 91.23 มารับบริการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 88.89 มาฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ และร้อยละ 15.25 มีภาวะโลหิตจางครั้งแรกที่มารับบริการฝากครรภ์ร้อยละ 13.73มีภาวะโลหิตจางครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์ขึ้นไปร้อยละ 3.44มีภาวะโลหิตจางครั้งที่ 3 จากการตรวจ ณ ห้องคลอดซึ่งในตัวชี้วัดระดับจังหวัดได้กำหนดอัตราภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ 14 จากจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการทั้งหมด นอกจากนี้ยังพบว่าจำนวนหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงที่จะเกิดภาวะโลหิตจาง คิดเป็นร้อยละ 16.64 จากจำนวนหญิงมีครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ทั้งหมด และการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พบว่าปัญหาสุขภาพช่องปากและการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและ สุขภาพโดยรวม สำหรับหญิงตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์เป็นช่วงเวลาที่มีโอกาสพบปัญหาสุขภาพช่องปาก จากการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาและฮอร์โมน หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเหงือกอักเสบและโรคปริทันต์มี ความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ สุขภาพของเด็กในครรภ์และการคลอด โรคฟันผุยังคงเป็นปัญหาสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมการแปรงฟัน การรับประทานอาหาร และปัจจัยอื่น ๆ ร่วมกับการเข้าถึงบริการของกลุ่มหญิงตั้งครรภ์อยู่ในเกณฑ์ต่ำ พบว่า หญิงตั้งครรภ์ในเขตลุโบะสาวอได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567ร้อยละ 96.55 พบปัญหาสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์82 คน ร้อยละ 94.25 ได้รับการขัดทำความสะอาดฟัน (ไตรมาส 4 ) 48 คน ร้อยละ 55.17ดังนั้นการให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ช่วงตั้งครรภ์ หลังคลอดและการดูแล เด็กปฐมวัยจึงมีความสำคัญ เป็นรากฐานให้เกิดการมีสุขภาพช่องปากและสุขภาวะที่ดี ตลอดจนลดโอกาส เกิดปัญหาสุขภาพช่องปากและการสูญเสียฟันในอนาคตได้ เพื่อเป็นการลดปัญหาสุขภาพทุกประเภทที่อาจจะเกิดขึ้นในหญิงขณะตั้งครรภ์ ในระหว่างคลอด และหลัง คลอด ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอจึงมีแนวคิดในการพัฒนากระบวนการในการดูแลหญิงมีครรภ์ โดยต้องได้รับการดูแลฝากครรภ์ระหว่างตั้งครรภ์โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ หญิงมีครรภ์มาฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ครบถ้วนตามเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดและมีประสิทธิภาพ ได้รับการตรวจและขัดทำความสะอาดฟันในหญิงตั้งครรภ์ทุกคน ซึ่งจะส่งผลถึงคุณภาพชีวิตมารดาและทารกมีสุขภาพดีตลอดระยะเวลาของการตั้งครรภ์ จนถึงสิ้นสุดการตั้งครรภ์
-
1. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดอย่างมีประสิทธิภาพตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อให้หญิงมีครรภ์รายใหม่ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงทีตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. เพื่อช่วยลดอัตราป่วยตายและปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนในระยะของการตั้งครรภ์ตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
4. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกรายตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
5. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามีและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากของ ตนเองและบุตรตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
6. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้ทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของตนเองและรับบริการทันตกรรมตามความจำเป็นตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ เรื่องการตั้งครรภ์ในทรรศนะของศาสนาอิสลามรายละเอียด
- ป้ายประชาสัมพันธ์ขนาด(3 เมตร1.5 เมตร)250 เป็นเงิน 1,125.-บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน จำนวน 2.30 ชั่วโมงๆ ละ 600.-บาท เป็นเงิน 3,000.-บาท
- ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆ ละ 30.-บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน 3,000.-บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 50.-บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500.-บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อบรม เป็นเงิน 4,500.-บาท
- ค่าชุดอุปกรณ์ฝึกปฏิบัติการทำความสะอาดช่องปาก เป็นเงิน 2,500.-บาท รวมเป็นเงิน 16,625.-บาท วันที่ 14 สิงหาคม 2568 (กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน)
- ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน จำนวน 2.30 ชั่วโมงๆ ละ 600.-บาท เป็นเงิน 3,000.-บาท
- ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆ ละ 30.-บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน 3,000.-บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 50.-บาท จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500.-บาท
- ค่าชุดอุปกรณ์ฝึกปฏิบัติการทำความสะอาดช่องปาก เป็นเงิน 2,500.-บาท รวมเป็นเงิน 11,000.-บาท รวมเป็นเงิน 27,625.- บาท (เงินสองหมื่นเจ็ดพันหกร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน)
งบประมาณ 27,625.00 บาท - 2. กิจกรรมที่ ๒ จ่ายอาหารเสริมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางและเสี่ยงต่อทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมรายละเอียด
- ค่าวัสดุนมเสริมธาตุเหล็กสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางและเสี่ยงต่อทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม 13 คน x 30 กล่องๆละ 23 บาท เป็นเงิน 8,970.- บาท
งบประมาณ 8,970.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ตำบลลุโบะสาวอ
รวมงบประมาณโครงการ 36,595.00 บาท
หญิงมีครรภ์รับรู้และตระหนักถึงภาวะเสี่ยงในขณะตั้งครรภ์ และสามารถเข้ารับบริการดูแลโดย เจ้าหน้าที่ตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข คือ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพก่อนคลอด นอกจากนี้ยังสามารถลดอัตรามารดามีภาวะโลหิตจางและอัตราป่วยตายของทารกแรกคลอดอีกด้วย พร้อมด้วยหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลช่องปาก และสามารถไปปฏิบัติในตนเองและบุตรได้อย่างถูกต้อง
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ รหัส กปท. L6959
อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ รหัส กปท. L6959
อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................