กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ รหัส กปท. L3061

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการนักเรียนร่วมใจ หยุดวงจรยุงลายด้วยสเปรย์สมุนไพรสร้างสรรค์
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โครงการนักเรียนร่วมใจ หยุดวงจรยุงลายด้วยสเปรย์สมุนไพรสร้างสรรค์
3.
หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกของจังหวัดปัตตานี โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในพื้นที่จังหวัดปัตตานี โดยเฉพาะในอำเภอหนองจิก ซึ่งเป็นหนึ่งในเขตที่พบการแพร่ระบาดสูง ในปี 2566 ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขรายงานว่าจังหวัดปัตตานีมีผู้ป่่วยไข้เลือดออกสะสมถึง 1,660 ราย และมีผู้เสียชีวิต 1 ราย โดยพื้นที่อำเภอหนองจิกมีรายงานการระบาดในชุมชนและสถานศึกษา ซึ่งกลุ่มเสี่ยงสำคัญ ได้แก่ เด็กและเยาวชน ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก มีลักษณะพื้นที่ที่เอื้อต่อการแพร่พันธุ์ของยุงลาย เช่น แหล่งน้ำขังในภาชนะรอบบ้านและพื่นที่เกษตรกรรม การป้องกันและลดจำนวนยุงลายจึงมีความสำคัญเร่งด่วนเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค การนำทรัพยากรท้องถิ่น เช่น สมุนไพรพื้นบ้าน มาประยุกต์ใช้เป็นสเปรย์ไล่ยุง ถือเป็นแนวทางที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน สมุนไพรพื้นบ้าน เช่น ตะไคร้หอม ใบสะระแหน่ และเปลือกส้ม มีคุณสมบัติในการไล่ยุงโดยธรรมชาติและปลอดภัยต่อสุขภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชเหล่านี้ไม่เพียงช่วยลดปัญหายุงลาย แต่ยังส่งเสริมการใช้ทรัพยากรในพื้นที่อย่างคุ้มค่า สร้างความตระหนักรู้ในชุมชนและเพิ่มศักยภาพในการจัดการปัญหาสาธารณสุขด้วยภูมิปัญญาในท้องถิ่น
โครงการ นักเรียนร่วมใจ หยุดวงจรยุงลาย สเปรย์สมุนไพรสร้างสรรค์ จึงจัดขึ้นเพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้การนำสมุนไพรพื้นบ้านมาผลิตเป็นสเปรย์ไล่ยุง โดยมุ่งเน้นการลดจำนวนยุงลายในพื้นที่ตำบลเกาะเปาะ สร้างสุขภาวะที่ดี และส่งเสริมความยั่งยืนให้กับชุมชน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อสร้างความตระหนักให้รู้เกี่ยวกับภัยของยุงลายและโรคที่เกิดจากยุงลาย
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 70 สร้างความตระหนักให้รู้เกี่ยวกับภัยของยุงลายและโรคที่เกิดจากยุงลาย
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 30.00
  • 2. 2.เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทยในการผลิตสเปรย์ไล่ยุง
    ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 50 ส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทยในการผลิตสเปรย์ไล่ยุง
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 10.00
  • 3. 3.เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานร่วมกันของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 70 พัฒนาทักษะการทำงานร่วมกันของนักเรียน
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 10.00
  • 4. 4.เพื่อสร้างชุมชนปลอดภัยจากโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
    ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละ 50 เพื่อสร้างชุมชนปลอดภัยจากโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 10.00
  • 5. 5.เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น
    ตัวชี้วัด : 5.ร้อยละ 60 ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 20.00
  • 6. 6.เพื่อเป็นต้นแบบการสร้างโครงการด้านสุขภาพในโรงเรียนและชุมชน
    ตัวชี้วัด : 6.ร้อยละ 50 เป็นต้นแบบการสร้างโครงการด้านสุขภาพในโรงเรียนและชุมชน
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 10.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้ ให้กับนักเรียนและครูเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการผลิตสเปรย์ไล่ยุง
    รายละเอียด

    อบรมให้ความรู้ ให้กับนักเรียนและครูเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการผลิตสเปรย์ไล่ยุง รวมทั้งการเรียนรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของสมุนไพรแต่ละชนิดที่ใช้ในโครงการ -ค่าอาหารกลางวัน วันที่ 1 จำนวน 33 คน x 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1,650 บาท
    -ค่าอาหารกลางวัน วันที่ 2 จำนวน 33 คน x 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1,650 บาท
    -ค่าอาหารว่างและเครืองดื่ม วันที่ 1 จำนวน 33 คน x 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 825 บาท
    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม วันที่ 1 จำนวน 33 คน x 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 825 บาท -ค่าวิทยากรในการอบรม ชั่วโมงๆละ 300 บาท จำนวน 2 วัน 2 คน วันละ 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600 บาท
                  รวมเป็นเงิน  8,550  บาท

    งบประมาณ 8,550.00 บาท
  • 2. กิจกรรมการเรียนการสอน
    รายละเอียด

    กิจกรรมการเรียนการสอน เช่น การบรรยาย การทำเวิร์กช็อป ทำสเปรย์ไล่ยุง เพื่อสร้างความเข้าใจและความตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันยุงลายในชุมชน
    -ค่าวัสดุสำหรับผลิตสเปรย์สมุนไพร     -ตะไคร้หอม, เปลือกส้ม, สะระแหน่ (สมุนไพรหลัก) 1,500 บาท     -แอลกอฮอล์ (สำหรับการสกัดและใช้เป็นส่วนผสม) 500 บาท     -น้ำมันหอมระเหย (เสริมคุณสมบัติไล่ยุงและเพิ่มกลิ่นหอม) 2,000 บาท     -บรรจุภัณฑ์ เช่น ขวดสเปรย์ 100 ml (ประมาณ 100 ขวด) 3,000 บาท     -สื่อการเรียนการสอน 800 บาท
        -อุปกรณ์ฐานผลิตสเปรย์ (บิกเกอร์ มีด ขวดโหลหมัก แก้วขน ตาชั่ง) ฐานละ 330 จำนวน 5 ฐาน : 3,650 บาท
            รวมเป็นเงิน  11,450  บาท

    งบประมาณ 11,450.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านเกาะเปาะ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 20,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.การใช้สเปรย์สมุนไพรที่ผลิตในโครงการจะช่วยลดจำนวนยุงลายในบ้านเรือนและพื้นที่เสี่ยง โดยเฉพาะในโรงเรียนและชุมชนตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก 2.นักเรียนและชุมชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การป้องกันตนเอง และการลดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย
3.สมุนไพรท้องถิ่น เช่น ตะไคร้หอมและสะระแหน่ ได้รับการนำมาใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ เป็นตัวอย่างของการอนุรักษ์ทรัพยากรและภูมิปัญญาชาวบ้าน 4.นักเรียนสามารถผลิตสเปรย์ไล่ยุงที่มีคุณภาพ ปลอดภัยต่อสุขภาพ และสามารถนำไปใช้จริงในชีวิตประจำวันได้

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ รหัส กปท. L3061

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ รหัส กปท. L3061

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 20,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................