กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองบ่อ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี ๒๕๖๘

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองบ่อ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี ๒๕๖๘

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองบ่อ

ม.1 (ในเขตรับผิดชอบ อบต.โคกสัก) ม.5,ม.6,ม.12 ต.โคกสักอ.บางแก้ว จ.พัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลก ถึงแม้ว่าจะมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการเกี่ยวข้องกับโรคเบาหวาน แต่ความชุกและอุบัติการณ์ กลับเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งในชุมชนเมืองและในชนบท อีกทั้งผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานนั้น ถ้ามีพฤติกรรมที

 

30.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่อง3อ.2ส.1ฟ.

จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ

20.00 0.00
2 เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน

20.00 0.00
3 ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์

ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ตามเกณฑ์ร้อยละ 40

20.00 0.00
4 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและ การออกกำลังกาย

ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้าในชุมชน

20.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ดำเนินการ 10
แกนนำเพื่อนช่วยเพื่อน 10

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 09/06/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานตามหลัก 3อ.2ส.1ฟ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานตามหลัก 3อ.2ส.1ฟ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-  ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ   จำนวน  20  คน และผู้ดำเนินการ  จำนวน 10 คน  รวม 30คน  จำนวน ๑ มื้อ ๆละ 75 บาท                                         เป็นเงิน   2,250 บาท

-  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน และผู้ดำเนินการ จำนวน 10 คน  รวม 30 คน  จำนวน 2 มื้อๆละ ๒5 บาท   เป็นเงิน  1,500  บาท

-  ค่าสมนาคุณวิทยากร  จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท   เป็นเงิน 3,600 บาท
-ค่าชุดอุปกรณ์อบรม แฟ้ม  เอกสาร สมุด ปากกา จำนวน 20 ชุด ๆละ 60 บาท  เป็นเงิน 1,200 บาท

  • ค่าจ้างจัดทำคู่มือ จำนวน 20 เล่มๆละ 300 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
9 มิถุนายน 2568 ถึง 9 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต (Output) ผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน20คน และผู้ดำเนินการจำนวน 10 คนรวม 30คน ผลลัพธ์ (Outcome)โรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่อง3อ.2ส.1ฟ.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14550.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อดูแลกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อดูแลกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับแกนนำที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน และผู้ดำเนินการจำนวน 10 คน รวม 20คน  จำนวน ๑ มื้อ ๆละ 75 บาท                                         เป็นเงิน   1,500 บาท

-  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับแกนนำที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน และผู้ดำเนินการจำนวน 10 คน    รวม 20คน จำนวน 2 มื้อๆละ ๒5 บาท   เป็นเงิน  1,000  บาท

-  ค่าสมนาคุณวิทยากร  จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท   เป็นเงิน 3,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 เมษายน 2568 ถึง 10 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต (Output) แกนนำเพื่อนช่วยเพื่อน เข้าร่วมอบรม จำนวน 10 คน ผู้ดำเนินการจำรวน 10 คน รวม 20 คน ผลลัพธ์ (Outcome) แกนนำ ความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6100.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดผู้ป่วยในชุมชน เดือนละ 2 ครั้ง X 3 เดือน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดผู้ป่วยในชุมชน เดือนละ 2 ครั้ง X 3 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าเครื่อง + อุปกรณ์ในการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (เครื่องDTX) จำนวน 2 เครื่อง ๆละ 3,500 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มิถุนายน 2568 ถึง 15 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต (Output)  ผู้ป่วยโรคเบาหวานเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการติดตามระดับน้ำตาลในเลือดผู้ป่วยในชุมชน เดือนละ 2 ครั้ง X 3 เดือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่4 ติดตามระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม HbA1C

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่4 ติดตามระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม HbA1C
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน และผู้ดำเนินการ จำนวน 10 คน  รวม 30 คน  จำนวน 1 มื้อๆละ 25
บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 สิงหาคม 2568 ถึง 18 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต (Output) ผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 20 คน เข้าร่วมกิจกรรม ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 20 คน  ได้รับการเจาะติดตามระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม HbA1C

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ป่วยมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย
2. ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม
3. ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์
4. ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและ
การออกกำลังกายร้อยละ 90


>