แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว รหัส กปท. L3346
อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
นางมณฑา พันฤทธิ์ดำ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน คือ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ถ้าไม่รับการดูแลรักษาและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม จะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมามากมาย โดยเฉพาะโรคไตเรื้อรัง (chronic kidney disease) ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยพบว่ามีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังมากถึงร้อยละ ๑๗.๕ ของประชากรที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ต้องได้รับการรักษาบำบัดทดแทนไต การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การล้างไตทางช่องท้อง การผ่าตัดปลูกถ่ายไต ในประชาชนที่ใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) สิทธิที่รัฐบาลให้ใช้ได้ คือการล้างไตทางช่องท้อง เมื่อเป็นโรคไตเรื้อรังในระยะสุดท้ายจะส่งผลต่อคุณภาพของผู้ป่วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และประเทศจะต้องสูญเสียงบประมาณด้านสาธารณสุขเป็นเงินจำนวนมหาศาล เป็นสาเหตุการป่วย พิการและเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกและประเทศไทย ส่งผลให้เกิดภาระและสูญเสียในทุกมิติทั้งกาย จิต สังคม เศรษฐกิจต่อทั้งผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศชาติ โดยมีปัจจัยเสี่ยงหลักที่สำคัญต่อการเกิดโรคดังนี้ ภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวานควบคุมโรคไม่ได้ ภาวะไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่ ภาวะอ้วนลงพุง จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 244 ราย จำนวน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 561 ราย โดยได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไตจำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 22.60 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน ได้จัดทำโครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเรียนรู้ถึงวิธีป้องกันโรคไตวายเรื้อรัง ตลอดจนการดูแลรักษาและชะลอไม่ให้เกิดภาวะไตวายระยะสุดท้าย
-
1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน มีความรู้ ความตระหนักในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะไตวายเรื้อรัง และชะลอการเกิดไตวายระยะสุดท้ายตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ ตระหนักถึงความสำคัญของโรค และมีการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 80.00
-
2. เพื่อให้เกิดเครือข่ายภาคประชาชนในการดูแล ป้องกันปัญหาโรคไตวายเรื้อรังในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมได้อย่างถูกต้องเหมาะสมขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 80.00
- 1. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้มีความรู้และการจัดการในการดูแลสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อมรายละเอียด
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คนๆละ 70 บาท รวมเป็นเงิน 7,000 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 คนๆละ 5 ชมๆละ 300 บาท รวมเป็นเงิน 6,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 100 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท
งบประมาณ 18,000.00 บาท - 2. ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ติดตามและประเมินผลรายละเอียด
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 100 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 2,500 บาท
งบประมาณ 2,500.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน
รวมงบประมาณโครงการ 20,500.00 บาท
หมายเหตุ : ***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายกันได้ตามความเหมาะสม***
- ร้อยละ 90ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ตระหนักและมีการจัดการในการดูแลสุขภาพ
- กลุ่มเป้าหมายมีอัตราการลดลงของค่า eGFR < 4
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว รหัส กปท. L3346
อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว รหัส กปท. L3346
อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................