กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเด็กดีราชประชา สุขภาพกายดี ชีวีมีสุข

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 10

ตำบลลุโบะสาวอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการของนักเรียนระดับประถมศึกษา มีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากเด็กนักเรียนเป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญในการสร้างพื้นฐานสุขภาพที่แข็งแรงและการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อให้
นักเรียนได้มีโอกาสเติบโตและเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสมบูรณ์ทางสุขภาพ สำหรับสถานการณ์ปัจจุบันในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่เพียงปัญหาเรื่องหลักที่ต้องเผชิญกับความไม่สงบในพื้นพื้นที่ แต่เด็กและเยาวชนยังมีปัญหาจากบริบทพื้นที่ที่ไม่เอื้ออำนวยอื่น ๆ อีกมากมายที่ส่งผลให้เกิดปัญหาทุพโภชนาการในเด็กที่มีแนวโน้มน่ากังวลมากที่สุด ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กในระยะยาว
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 10 อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 เป็นโรงเรียนในโครงการพระราชดำริที่มีขนาดเล็ก มีนักเรียน จำนวน 120 คน คน เป็น
โรงเรียนในเขตพื้นที่ชนบท ห่างไกลตัวเมืองนราธิวาส ประมาณ 27 กิโลเมตร สภาพชุมชนรอบโรงเรียนมีลักษณะหนาแน่นเป็นบางพื้นที่ มีประชากรประมาณ 1.210 คน (ร้อยละ 100 นับถือศาสนาอิสลาม) อาชีพหลักของคนในชุมชน คือ รับจ้าง ทำนาและเกษตรกรรม ผู้ปกครองของนักเรียนส่วนใหญ่ยากจนและชาดโอกาสทางการศึกษานักเรียนบางส่วนอาศัยอยู่กับปู่ย่า ตายาย ผู้ปกครองไม่ค่อยมีเวลาในการดูแลบุตรหลานในช่วงตอนเช้าซึ่งเป็น
ชั่วโมงเร่งด่วนของวัน ทำให้นักเรียนไม่ได้รับประทานอาหารเช้า และเลือกที่จะซื้ออาหารที่ไม่มีประโยชน์มากินแทนอาหารเช้า สำหรับนักเรียนที่ยากจน ไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน
จากการประเมินพฤติกรรมทางสุขภาพที่มีความเสี่ยงของนักเรียนในโรงเรียนในปีที่ผ่านมา พบว่า นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการ ภาวะผอม ร้อยละ 10 ภาวะเริ่มอ้วน ร้อยละ 5 ภาวะอ้วน ร้อยละ 3 และภาวะเตี้ย ร้อยละ
20 ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาจรฐาน และก่อให้เกิดผลเสียต่อพัฒนาการทางกายและพัฒนาการทางสมองของนักเรียน ซึ่งส่วนใหญ่ในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการเป็นเด็กที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะ
ยากจน นักเรียนร้อยละ 10 มีน้ำหนักน้อย ขาดสารอาหาร พัฒนาการช้า เป็นโรคง่ายและป่วยบ่อยโรงเรียนได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงต้องการที่จะแก้ไขและดำเนินการเพื่อส่งเสริมสุขภาพของ
นักเรียนในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมและมีสุขภาวะที่ดี ให้นักเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มี
ประโยชน์และปลอดภัย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนานโยบายสุขภาวะประเด็นด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย และมีแผนการนำใช้ในโรงเรียน อย่างชัดเจน

 

0.00
2 เพื่อจัดบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานประเด็นด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย ให้กับนักเรียนและ บุคลากรของโรงเรียน

 

0.00
3 เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้เอื้ออำนวยต่อการมีพฤติกรรมสุขภาวะประเด็นด้านโภชนาการ และอาหารที่ปลอดภัย เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้และเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะสุขภาพของนักเรียนให้ สุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม เป็นแบบอย่างที่ดีของครอบครัวและชุมชน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น : 01/06/2025

กำหนดเสร็จ : 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติเสริมสร้าง ความรอบรู้ด้านสุขภาพและสุขภาวะในด้านโภชนาการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติเสริมสร้าง ความรอบรู้ด้านสุขภาพและสุขภาวะในด้านโภชนาการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จกรรมที่ 1 ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติ เสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและสุข ภาวะในด้านโภชนาการและอาหารที่ ปลอดภัย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 50 คน บาท x 30 บาท) เป็นเงิน 1,500 บาท กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ อาหารหลัก 5 หมู่

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้อาหารหลัก 5 หมู่

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้อาหารหลัก 5 หมู่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้หลัก 5 หมู่ - ค่าวิทยากร (จำนวน 1 คน x 5 ชั่วโมง x 600 บาท) เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 30 คน บาท X 30 บาท x 2 มื้ อ เป็นเงิน 1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการเต้นแอโรบิคเพื่อสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการเต้นแอโรบิคเพื่อสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ป้านไวนิลโครงการ ขนาด1.5 เมตร x2.00 เมตร x 250 บาท เป็นเงิน 750 บาท 2.ค่าจัดซื้อเครื่องขยายเสียงครบชุด จำนวน 1ชุด เป็นเงิน 8,000บาท 3.ค่าตอบแทนผู้นำออกกำลังกาย วันละ 1 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 200 บาท สัปดาห์ละ 1 วัน เดือนละ 4 วัน ทั้งหมด 16 วัน เป็นเงิน 3,200 บาท รวมเป็นเงิน 11,950บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11950.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นโยบายและแผนปฏิบัติ
การเสริมสร้างความรอบรู้
ด้านสุขภาพและสุขภาวะ
ที่เป็นรูปธรรมและปฏิบัติ
ได้
2. คณะครู คณะกรรมการ
สถานศึกษา ผู้ปกครอง
และนักเรียนมีส่วนร่วม
และให้ความร่วมมือใน
การจัดทำนโยบายและ
แผนปฏิบัติการเสริมสร้าง
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
และสุขภาวะ
3. นักเรียน ผู้ปกครอง และ
คนในชุมชนเกิดความรอบ
รู้ด้านสุขภาพ ประเด็นานโภชนาการและ
อาหารที่ปลอดภัย
4. นักเรียน ผู้ปกครองและ
คนในชุมชน มีพฤติกรรม
สุ ข ภ า พ ป ร เ ด็ น ด้ า น
โภชนาการและอาหารที่
ปลอดภัย เหมาะสม และ
สามารถเป็นตัวอย่างที่ดี
บอกกล่าวความรู้ด้าน
สุขภาพให้กับเพื่อนและ
ครอบครัวได้


>