แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน รหัส กปท. L4123
อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ปัญหาที่พบมากที่สุดและเป็นปัญหาทันตสุขภาพ สำคัญของเด็กไทยปฐมวัยคือ โรคฟันผุในเด็กปฐมวัย รองลงมาคือโรคเหงือกอักเสบ ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยโดยรวมของเด็ก ทั้งนี้ ผลของการเกิดโรคฟันผุ จะมีผลต่อระบบการเคี้ยวอาหาร อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย ถ้าเกิดในเด็กจะทำให้เด็กไม่อยากรับประทานอาหาร จะส่งผลกระทบในระยะยาวต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย และยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคไปยังอวัยวะอื่นได้ เด็กที่มีฟันผุลุกลามในบริเวณกว้างและมีอัตราการผุที่เร็วอาจต้องสูญเสียฟันตั้งแต่อายุยังน้อย นอกจากนี้แล้วการเกิดฟันผุปริมาณมากในชุดฟันน้ำนมนั้นยังเป็นข้อบ่งชี้ที่สำคัญ ที่จะทำนายการเกิดฟันผุในชุดฟันแท้ในอนาคตได้อีกด้วย
จากผลการดำเนินงานงานทันตกรรมเด็กอายุ 0 – 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสายตาเอียด อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา พบว่า ข้อมูลของเด็กในปี 2567 เด็ก 0 – 2 ปี จำนวน 48 คน และเด็กอายุ 3 – 5 ปี จำนวน 42 คน จากรายงานเด็กอายุครบ 3 ปีที่มารับบริการที่คลินิกทันตกรรม จำนวน 8 คน มีฟันผุ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ซึ่งเกิดจากการที่เด็กชอบรับประทานอาหารหวาน และพ่อแม่ไม่มีเวลาในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเนื่องจากทำงาน ทาง รพ.สต. จึงให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กตั้งแต่ 4 เดือนของทารกโดยการใช้ถุงนิ้วมือทำความสะอาดเหงือก เด็กที่เกิดใหม่จะมีสุขภาพกายและฟันที่แข็งแรง เด็กได้รับการดูแลที่ดีและสร้างเจตคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับทันตสุขภาพ นอกจาก พ่อแม่ที่ได้รับการฝึกฝนการแปรงฟันที่ถูกต้องจะส่งผลให้มีสุขภาพที่ดีทั้งพ่อแม่และลูก
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสายตาเอียด ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ที่ถูกต้อง มีทักษะการแปรงฟันให้ลูกที่สะอาด และถูกวิธี และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของลูกให้มีสุขภาพช่องปากที่ดี
-
1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีทักษะการแปรงฟันให้ลูกที่สะอาด และถูกวิธีตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีทักษะการแปรงฟันให้ลูกที่สะอาด และถูกวิธีขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้เรื่องทันตสุภาพมากขึ้นขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องทันตสุภาพแก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรายละเอียด
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 75 บาท จำนวน 71 คน เป็นเงิน 5,325 บาท
- ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 35 บาท จำนวน 71 คน เป็นเงิน 4,970 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 400 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
งบประมาณ 12,295.00 บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 75 บาท จำนวน 71 คน เป็นเงิน 5,325 บาท
- 2. 2. ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรมรายละเอียด
- ป้ายไวนิลจัดทำโครงการ 1 อัน 1.2 x 2.5 เมตร เป็นเงิน 940 บาท
- เอกสารคู่มือการดูแลสุขภาพช่องปาก จำนวน 71 เล่ม เล่มละ 25 บาท เป็นเงิน 1,775 บาท
- ชุดสาธิตในการดูแลสุขภาพช่องปาก (แปรงสีฟัน ยาสีฟัน) 71 ชุด ชุดละ 20 บาท เป็นเงิน 1,420 บาท
งบประมาณ 4,135.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสายตาเอียด
รวมงบประมาณโครงการ 16,430.00 บาท
- เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และทาฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ
- ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีทักษะการแปรงฟันให้ลูกที่สะอาด และถูกวิธี
- ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้เรื่องทันตสุขภาพมากขึ้น
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน รหัส กปท. L4123
อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน รหัส กปท. L4123
อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................