กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ รหัส กปท. L5230

อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการทุ่งคมบางปลอดภัย ผู้บริโภคเข้าใจเฝ้าระวังภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพ ปี 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาสีทอง
3.
หลักการและเหตุผล

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ คือการคุ้มครองผู้บริโภคให้ปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพได้แก่ อาหาร ยา เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตราย วัตถุเสพติด ปัจจุบันนี้ปัญหาความไม่ปลอดภัยจากผลิตภัณฑ์สุขภาพเป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญของผู้บริโภค อาทิ ปัญหาการจำหน่ายอาหารที่ไม่สะอาดปลอดภัยอาหารสด ที่มีการปนเปื้อนจากสารเคมี การจำหน่ายยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ ยาชุด ยาอื่นที่ไม่ใช่ยาสามัญประจำบ้านของผู้ประกอบการในร้านชำ การปนเปื้อนของสารสเตียรอยด์ในยาแผนโบราณ การปนเปื้อนสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง การโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพโอ้อวดสรรพคุณเกินจริง เป็นต้น จากการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพในอำเภอรัตภูมิที่ผ่านมา พบปัญหาความไม่ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ได้แก่ การจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยในร้านชำ เช่น การจำหน่ายยาอันตรายยาปฏิชีวนะ ยาที่ไม่มีเครื่องหมาย “ยาสามัญประจำบ้าน” เป็นผลให้ประชาชนเสี่ยงต่อการแพ้ยา ดื้อยา การได้รับยาที่ไม่สมเหตุสมผล ผลิตภัณฑ์อาหารไม่มีเครื่องหมาย อย.ผลิตภัณฑ์อาหารหมดอายุ ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสงสัยมีสารห้ามใช้ โฆษณาเกินจริง ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายไม่มีเครื่องหมาย อย. พบปัญหาการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพโอ้อวดสรรคุณเกินจริงในชุมชนและสื่อออนไลน์ การขายอาหารเสริมโอ้อวดสรรพคุณในกลุ่มผู้ป่วยทำให้ผู้ป่วยและผู้บริโภคที่ไม่รู้เท่าทันภัย หลงเชื่อเป็นผลให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพได้ พบปัญหาการปนเปื้อนสารสเตียรอยด์ในยาแผนโบราณ
การปนเปื้อนสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง
การดำเนินงาน อย.น้อยในโรงเรียน พบปัญหาการเก็บรักษานมโรงเรียนไม่เหมาะสม พบรายการยาอันตรายในห้องพยาบาลในโรงเรียน การปนเปื้อนสารเคมีอันตรายในผัก ผลไม้ ผลิตภัณฑ์ที่วางจำหน่ายในร้านสะดวกซื้อในโรงเรียนหมดอายุ งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาสีทอง จึงได้จัดทำโครงการโครงการทุ่งคมบางปลอดภัย ผู้บริโภคเข้าใจเฝ้าระวังภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพ ปี 2568 ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนักเรียน แกนนำ อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัย ซึ่งจะช่วยในการขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายในชุมชนผ่านการประเมินความรู้ด้วยแบบทดสอบและประเมินภาคปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยคะแนนแบบทดสอบหลังอบรมเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายครู/นักเรียน แกนนำ อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายนักเรียน แกนนำ อย.น้อย ผ่านการประเมินความรู้ด้วยแบบทดสอบและประเมินภาคปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยคะแนนแบบทดสอบหลังอบรมเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในชุมชนและในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถเฝ้าระวังและแจ้งเตือนผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในชุมชนและในโรงเรียน ร้อยละ 60
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. เตรีมการดำเนินงาน 1.1 ประชุมวางแผนการดำเนินงาน 1.2 เตรียมเอกสารความรู้ ประสานวิทยากร จัดทำแบบประเมินความรู้ก่อน - หลัง 1.3 จัดทำสื่อความรู้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น เครื่องสำอาง ยาอันตราย ยาสามัญประจำบ้านเป็นต้น 1.4 ประสานกลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วม
    รายละเอียด
    1. ค่าสื่อความรู้การตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยใช้หุ่นไล่กา 6 อ-6 เอ๊ะ สื่อ x stand กระดาษ PP ขนาด 60x160 ซม. จำนวน 1 ชุด x 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
    2. ค่าสื่อความรู้ผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในร้านชำ สื่อกระดาษ PP ขนาด 60x160 ซม. จำนวน 1 ผืน x 240 บาท เป็นเงิน 240 บาท
    3. ค่าสื่อความรู้ยา “ยาสามัญประจำบ้าน” สื่อกระดาษ PP ขนาด 60x160 ซม. จำนวน 1 ผืน x 240 บาท เป็นเงิน 240 บาท
    งบประมาณ 1,480.00 บาท
  • 2. อบรมให้ความรู้ในชุมชน เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในชุมชน 2.1 ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ 2.2 ทำแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม 2.3 อบรมให้ความรู้ในชุมชน เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัย มี การทดสอบ สเตียรอยด์ในยาแผนโบราณและการทดสอบสารห้ามใช้ในเครื่องสำอ
    รายละเอียด
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 60 คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท
    2. ค่าสมนาคุณวิทยากร 2 คน x 3 ชั่วโมง x 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
    3. ค่าอาหารกลางวัน 60 คน x 70 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 4,200 บาท
    4. ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1.2 x 2.4 เมตร 1 ผืน x 432 บาทเป็นเงิน 432 บาท
    5. ค่าชุดทดสอบสเตียรอยด์ในเครื่องสำอาง จำนวน 1 กล่อง (1 กล่องมี 10 เทส) x 1,100 บาทเป็นเงิน 1,100 บาท
    6. ค่าชุดทดสอบปรอทในเครื่องสำอางจำนวน 1 กล่อง (1 กล่องมี 10 เทส) x 980 บาท เป็นเงิน 980 บาท
    7. ค่าชุดทดสอบกรดวิตามินเอในเครื่องสำอาง จำนวน 1 กล่อง (1 กล่องมี 25 เทส) x 1,100 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท
    8. ค่าชุดทดสอบไฮโดรควิโนนในเครื่องสำอาง จำนวน 1 กล่อง (1 กล่องมี 20 เทส) x 980 เป็นเงิน 980 บาท
    9. ค่าชุดทดสอบสเตียรอยด์ในยาแผนโบราณ จำนวน 8 กล่อง (1 กล่องมี 1 เทส)x 400 บาท เป็นเงิน 3,200 บาท
    10. ค่าวัสดุในโครงการ กระเป๋าผ้า สมุด ปากกา จำนวน 50 ชุด x 75 บาท เป็นเงิน 3,750 บาท
    งบประมาณ 22,342.00 บาท
  • 3. อบรมให้ความรู้นักเรียน/ครู เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในโรงเรียน 3.1 ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ 3.2 ทำแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม 3.3 อบรมให้ความรู้ในโรงเรียน เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในโรงเรียน มี การทดสอบสเตียรอยด์ในยาแผนโบราณและการทดสอบสา
    รายละเอียด
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 60 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท
    2. ค่าสมนาคุณวิทยากร 1 คน x 3 ชั่วโมง x 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
    3. ค่าวัสดุในโครงการ กระเป๋าผ้า สมุด ปากกา จำนวน 50 ชุด x 75 บาท เป็นเงิน 3,750 บาท
    งบประมาณ 7,050.00 บาท
  • 4. เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพและการจำหน่ายยาอันตรายในร้านชำ 4.1 ลงพื้นที่สำรวจร้านชำในพื้นที่ ม.9 บ้านทุ่งคมบาง เกี่ยวกับการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพและการจำหน่ายยาอันตรายในร้านชำ 4.2 ติดตามร้านชำที่มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพและการจำหน่ายยาอันตรายในร้านชำ
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 5. สรุปผลการดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งคมบาง อาคารโรงเรียนบ้านทุ่งคมบาง ร้านชำในชุมชนบ้านทุ่งคมบาง หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งคมบาง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 30,872.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1 ผู้บริโภคในชุมชนเกิดความรอบรู้สุขภาพ ด้านคุ้มครองผู้บริโภคฯ รู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยในชุมชน สามารถนำความรู้และทักษะไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2 นักเรียนในโรงเรียนเกิดความรอบรู้สุขภาพ ด้านคุ้มครองผู้บริโภคฯ รู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย ได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยในโรงเรียน สามารถนำความรู้และทักษะไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3 เกิดการเฝ้าระวังภัยร้านชำปลอดผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย รวมถึงชุมชนปลอดร้านชำที่ขายยาอันตรายในชุมชน ชุมชนเกิดการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยผู้บริโภคในชุมชนมีความเข้มแข็งในการใช้ทักษะและความรู้ที่ได้รับ นำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างต่อเนื่อง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ รหัส กปท. L5230

อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ รหัส กปท. L5230

อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 30,872.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................