2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนไทย ยังคงเป็นปัญหาสำคัญ โดยเฉพาะโรคฟันผุและปริทันต์อักเสบ เป็นปัญหาที่เด่นชัด เมื่อได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที โรคจะลุกลามและสูญเสียฟันในที่่สุดส่งผลต่อสุขภาพร่างกาย การสบฟัน การเคี้ยวอาหาร ตลอดจนการใช้ชีวิตประจำวัน จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปาก แห่าติ ครั้งที่9 มี 2566 ของสำนักทันตสาธารณสุขกรมอนามัย ในกลุ่มวัยทำงานอายุ 35-44 ปี ปัญหาหลักพล คือ การสูญเสียฟัน โดยพบวัยทำงานมีการสูญเสียฟัน ร้อยละ 83.9 เฉลี่ย 3.5 ซี่ต่อคน มีภาวะเหงือกอักเสบร้อยละ 81.0 โดยร้อยละ 51.8เกิดร่วมกับหินน้ำลาย โรคปริทันต์อักเสบ พบร้อยละ 32.6 ค่าดัชนีรากฟันผุอุดร้อยละ 28.5 ลี่ย 1.6 ซี่ ต่อคน นอกจากนี้ กลุ่มวัยทำงานยังมีพฤติกรรมความเสี่ยงการเกิดโรคในช่องปาก อย่างเช่น การสูบบุหรี่ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งช่องปาก
จากกการสำรวจ สอบถามถึงปัญหาของสุขภาพช่องปาก ของประชาชนในชุมชน หมู่ที่ 1 บ้านพังเภา พบว่า กลุ่มวัยทำงานส่วนใหญ่มีปัญหาฟันผุ ปวดฟัน และไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี ไม่ได้รับการตรวจฟันจากทันตแพทย์ จากปัญหาดังกล่าว อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้เขียนโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มวัยทำงาน เพื่อแก้ปัญหาให้กับประชาชนในชุมชน
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น
กำหนดเสร็จ
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. ประชาชนในวัยทำงานและสมาชิกในครัวเรือน สามารถดูแลช่องปากได้ด้วยตัวเองอย่างถูกวิธี
2. ลดอัตราการเกิดโรคในช่องปาก