กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)และส่งเสริมการเป็นภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชนปี 2568

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)และส่งเสริมการเป็นภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชนปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ต้องเป็นผู้มีจุดหมายปลายทางในการทำงาน และมีบทบาทในการเป็นผู้นำในการบริหารนโยบายไปสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับพื้นที่เป็นผู้นำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งของตนเองและสร้างพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน ทั้งในงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลเบื้องต้น ตลอดจนการเฝ้าระวังสุขภาพและคัดกรองผู้ป่วย เป็นผู้นำในการดูแลสภาวะแวดล้อมของสังคมดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)จึงต้องได้รับการเพิ่มพูนความรู้ในด้านสาธารณสุข การพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จึงเป็นกลวิธีหนึ่ง ในการสร้างมวลชนหรือกลุ่มแกนนำชุมชนให้มีศักยภาพ เพื่อร่วมเป็นภาคีเครือข่ายจัดการสุขภาพในชุมชน/หมู่บ้านอย่างเข้มแข็ง
ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลสทิงพระ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทำโครงการโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2568

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้มีความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคเพิ่มขึ้น

1.ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้รับการพัฒนาทักษะและเพิ่มพูนศักยภาพในด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค

0.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อสร้างองค์ความรู้และทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

2.ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ร่วมทำงานเป็นทีมและจัดการสุขภาพในชุมชน/หมู่บ้าน

0.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม การทำงานเป็นทีมที่มีคุณภาพ

3.ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชน/หมู่บ้าน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 อบรม ในหัวข้อเรื่องต่างๆ ดังนี้ - เรื่องการปฏิบัติหน้าที่และการทำงานเป็นทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) - เรื่องสุขภาพดี มีสุข สุขาภิบาลและการอนามัยสิ่งแวดล้อม - เรื่องการเฝ้าระวังและควบคุมโรค สามารถ ถั่วเฉลี่ยกันได้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 อบรม ในหัวข้อเรื่องต่างๆ ดังนี้ - เรื่องการปฏิบัติหน้าที่และการทำงานเป็นทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) - เรื่องสุขภาพดี มีสุข สุขาภิบาลและการอนามัยสิ่งแวดล้อม - เรื่องการเฝ้าระวังและควบคุมโรค สามารถ ถั่วเฉลี่ยกันได้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
      มื้อละ 25 บาท x  70 คน  x 2 มื้อ
    เป็นเงิน   3,500    บาท    - ค่าอาหารกลางวัน   มื้อละ 60 บาท x  70 คน  x 1 มื้อ
    เป็นเงิน   4,200    บาท





       รวมเป็นเงิน 7,700 บาท          (เจ็ดพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 7,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้รับการเพิ่มพูนศักยภาพในด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคร่วมเป็นภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ ทำงานเป็นทีมและจัดการสุขภาพในชุมชน/หมู่บ้านได้


>