โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)และส่งเสริมการเป็นภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชนปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)และส่งเสริมการเป็นภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชนปี 2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สทิงพระ |
วันที่อนุมัติ | 8 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 7,700.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ต้องเป็นผู้มีจุดหมายปลายทางในการทำงาน และมีบทบาทในการเป็นผู้นำในการบริหารนโยบายไปสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับพื้นที่เป็นผู้นำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งของตนเองและสร้างพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน ทั้งในงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลเบื้องต้น ตลอดจนการเฝ้าระวังสุขภาพและคัดกรองผู้ป่วย เป็นผู้นำในการดูแลสภาวะแวดล้อมของสังคมดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)จึงต้องได้รับการเพิ่มพูนความรู้ในด้านสาธารณสุข การพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จึงเป็นกลวิธีหนึ่ง ในการสร้างมวลชนหรือกลุ่มแกนนำชุมชนให้มีศักยภาพ เพื่อร่วมเป็นภาคีเครือข่ายจัดการสุขภาพในชุมชน/หมู่บ้านอย่างเข้มแข็ง
ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลสทิงพระ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทำโครงการโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2568
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้มีความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคเพิ่มขึ้น 1.ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้รับการพัฒนาทักษะและเพิ่มพูนศักยภาพในด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค |
0.00 | |
2 | ข้อที่ 2 เพื่อสร้างองค์ความรู้และทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน 2.ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ร่วมทำงานเป็นทีมและจัดการสุขภาพในชุมชน/หมู่บ้าน |
0.00 | |
3 | ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม การทำงานเป็นทีมที่มีคุณภาพ 3.ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชน/หมู่บ้าน |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 7,700.00 | 0 | 0.00 | 7,700.00 | |
??/??/???? | กิจกรรมที่ 1 อบรม ในหัวข้อเรื่องต่างๆ ดังนี้ - เรื่องการปฏิบัติหน้าที่และการทำงานเป็นทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) - เรื่องสุขภาพดี มีสุข สุขาภิบาลและการอนามัยสิ่งแวดล้อม - เรื่องการเฝ้าระวังและควบคุมโรค สามารถ ถั่วเฉลี่ยกันได้ | 0 | 7,700.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 7,700.00 | 0 | 0.00 | 7,700.00 |
ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้รับการเพิ่มพูนศักยภาพในด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคร่วมเป็นภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ ทำงานเป็นทีมและจัดการสุขภาพในชุมชน/หมู่บ้านได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 พ.ค. 2568 00:00 น.