กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก รหัส กปท. L2512

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลรือเสาะออก
กลุ่มคน
นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ ประธานชมรม อสม. หมู่ที่ 1
นายสะรี เปาะแซยือไร ประธานชมรม อสม. หมู่ที่ 2
นางสาวอานี ดือราแม ประธานชมรม อสม. หมู่ที่ 3
นางซากียะ สะอิ ประธานชมรม อสม. หมู่ที่ 4
นายกิริยา ตะมะละ ประธานชมรม อสม. หมู่ที่ 5
3.
หลักการและเหตุผล

ปัญหาการหกล้มในผู้สูงอายุ เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นได้บ่อย เนื่องจากความเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย ทำให้ร่างกายไม่แข็งแรงและทรงตัวได้ไม่ดีพอ จากการวิจัยพบว่า ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป เสี่ยงต่อการหกล้ม 28-35% ส่วนในผู้ที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไป เสี่ยงต่อการหกล้มเพิ่มขึ้นเป็น 32-42% และยังพบว่ามีอัตราการเสียชีวิตจากการหกล้มสูงเป็นอันดับ 2 เฉลี่ย 3 คนต่อวัน รองจากการเสียชีวิต จากอุบัติเหตุบนท้องถนน การหกล้ม เกิดจากการสูญเสียการทรงตัวของผู้สูงอายุ มีปัจจัยเสี่ยง 2 ประเภท คือ ปัจจัยเสี่ยงภายใน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านสายตา โดยเฉพาะปัญหาสายตายาวและโรคต้อทำให้ผู้สูงอายุมองเห็นไม่ชัด ข้อต่อและเอ็นอ่อนแอลงทำให้ผู้สูงอายุมักทรงตัวไม่อยู่ ปัญหาปัสสาวะบ่อยหรือปัสสาวะเล็ดทำให้ต้องรีบเข้าห้องน้ำโรคประจำตัวบางอย่างที่ส่งผลต่อการหกล้ม เช่น โรคหลอดเลือด โรคพาร์กินสัน การใช้ยาบางตัว ที่ทำให้เกิดอาการง่วงซึมหรือวูบได้ เช่น ยานอนหลับ ยาลดความดันโลหิต ยาต้านอาการซึมเศร้า และปัจจัยเสี่ยงภายนอก คือ สภาพแวดล้อมรอบตัวผู้สูงอายุ เช่น พื้นบ้านที่ลื่นหรือมีสิ่งกีดขวาง แสงไฟในบ้านที่สว่างไม่เพียงพอ ขั้นบันไดที่สูงชันหรือแคบ พื้นห้องน้ำเปียกลื่น รองเท้าของผู้สูงอายุที่ไม่เหมาะสม ไม่สามรถยึดเกาะพื้นได้ดี หรือไม่สบายเท้า ทำให้ผูสูงอายุสะดุดหกล้มได้ง่าย เป็นต้น ซึ่งการหกล้มในผู้สูงอายุส่งผลกระทบด้านคุณภาพชีวิต กล่าวคือ ด้านร่างกายเกิดการบาดเจ็บเล็กน้อย ซึ่งบางรายอาจรุนแรงส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุกลายเป็นผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงพิการ หรือรุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิตได้ ด้านเศรษฐกิจ จากอุบัติการณ์หกล้มบาดเจ็บทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษา ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูสุขภาพในระยะต่างๆ ด้านจิตใจ ผู้สูงอายุก็มักกลัวการหกล้ม โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อาจเคยหกล้มไปแล้ว จะยิ่งกลัวมากขึ้น เกิดความกังวลและขาดความมั่นใจในการเดินจนเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุได้ สำหรับพื้นที่ตำบลรือเสะาออก ปีงบประมาณ 2567 มีผู้สูงอายุจำนวน 902 คน จากข้อมูลการคัดกรอง 9 ด้าน พบว่า มีผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองครบทั้ง 9 ด้าน จำนวน 787 คน คิดเป็นร้อยละ 87.25 พบว่า มีผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว/การหกล้ม จำนวน 117 คน คิดเป็นร้อยละ 14.9 โดยมีผู้สูงอายุติดบ้าน-ติดเตียงที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 1.9 จะเห็นได้ว่า หากญาติหรือคนใกล้ชิดไม่ได้ตระหนักถึงความผิดปกติด้านการหกล้ม จะทำให้ผู้สูงอายุได้รับการวินิจฉัยที่ล่าช้า และไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างเหมาะสมจะส่งผลกระทบต่อการดูแลเป็นภาระการดูแลของผู้ดูแลและครอบครัว ดังนั้น การดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้มจึงมีส่วนสำคัญในการป้องกันหกล้มที่จะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความพิการและมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเขต อบต.รือเสาะออก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาด้านสุขภาพดังกล่าว จึงจัดโครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม ประจำงบประมาณ 2568 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล และ อสม.เข้าใจถึงการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม และกระตุ้นสมรรถภาพของผู้สูงอายุที่บ้านและในชุมชนได้

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพลัดตกหกล้ม
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพลัดตกหกล้ม
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีทักษะในการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีทักษะในการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรม การส่งเสริมความรู้และฝึกทักษะการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
    รายละเอียด

    ค่าอาหารกลางวัน 80 บาท100 คน * 1 วัน เป็นเงิน 8,000 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท 2 มื้อ * 1 คน * 1 วัน เป็นเงิน 7,000 บาท ค่าวิทยากร 600 บาท* 4 ชม.* 1 คน* 1 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท ตาราง 9 ช่อง (ฝึกการทรงตัว) 250 บาท* 50 ชุด เป็นเงิน 12,500 บาท ยางยืดออกกำลังกาย 50 บาท* 50 ชุด เป็นเงิน 2,500 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 32,400 บาท

    งบประมาณ 32,400.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 40 คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 60 คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 7 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 32,400.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และ อสม.ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม และไม่เกิดความพิการจากการพลัดตกหกล้ม

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก รหัส กปท. L2512

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก รหัส กปท. L2512

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 32,400.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................