2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
โรคความดันโลหิตสูง เป็นสาเหตุที่คร่าชีวิตของคนไทยจำนวนมากในแต่ละปี ปัจจุบัน คนไทยมี ความดันโลหิตเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้น ปัญหาหลักของการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงใน ประเทศไทย คือ การที่ผู้ที่เป็น โรคไม่ได้ตระหนักว่าเป็นโรค แม้จะตระหนักก็ยังไม่เชื่อถือและไม่ได้ ติดตามรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง โรคความ ดันโลหิตสูง เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน กล้ามเนื้อหัวใจตายหรือขาดเลือด โรคหลอด เลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ไตวายเรื้อรัง หัวใจล้มเหลวและสมองเสื่อม นอกจากนี้ ระดับความดันโลหิตที่สูงขึ้น อย่างรวดเร็วยังเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดหลอดเลือดสมองแตก เลือดออกในสมอง (Hemorrhagicstroke) หลอดเลือดหัวใจตีบตันเกิดภาวะหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันหรือหลอดเลือดแดงใหญ่ฉีกขาด โรคความดันโลหิตสูงจึงเป็น ปัจจัยเสี่ยงในการเสียชีวิต ด้วยข้อมูลจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่าโรค เรื้อรังหรือโรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่ม เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การไม่ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีรสเหวาน มัน เค็มจัด รวมถึงความเครียด ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและหัวใจ มะเร็ง ถุงลมโป่ง พองและ โรคอ้วนลงพุง และทำให้อายุไขของคนป่วยกลุ่มนี้จะมีอายุต่ำกว่า ๖๐ ปี โดยจากสถิติพบว่า คนไทย เสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปีละ ๓ แสนคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยคิดเป็นร้อยละ ๗๓ ของ สาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย โดยทั่วโลก สาเหตุการตายด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ ๖๓ ของสาเหตุการ ตายของประชากรโลก
ปัจจุบันพบว่าอัตราความชุกของ โรคความดันโลหิตสูง เครือข่ายบริการสุขภาพ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี รวมถึงผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการผู้ป่วยนอก เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปีเช่นกัน จากการจัดลำดับ ความชุก ๑๐ อันดับโรคของผู้รับบริการพบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จัดอยู่ในอันดับที่ ๑ และ พบจำนวน สูงสุดในกลุ่มผู้ป่วยอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป รองลงมาพบในกลุ่มอายุ ๔๐-๖๐ ปี และพบจำนวนน้อยในช่วงอายุน้อยกว่า ๔๐ ปี ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง พบโรคแทรกซ้อนร้อยละ ๕๕.๗๗ และยังพบว่ามีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่ ต้องเข้านอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ อีกเป็นจำนวนมาก
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
) เพื่อค้นหาเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
2) เพื่อติดตามระดับความดันโลหิตที่บ้านในกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
3) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยรักษาอย่างทันท่วงที และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/06/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการวัดความดันโลหิตสูง
2) กลุ่มสงสัยป่วยได้รับความดันโลหิตสูงที่บ้าน
3) ประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง