โครงการค้นหาและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและยืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ชื่อโครงการ | โครงการค้นหาและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและยืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง |
รหัสโครงการ | 68-L3350-01-12 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสวน |
วันที่อนุมัติ | 8 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 54,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายประภาส สงบุตร |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | พื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านสวน |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูง เป็นสาเหตุที่คร่าชีวิตของคนไทยจำนวนมากในแต่ละปี ปัจจุบัน คนไทยมี ความดันโลหิตเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้น ปัญหาหลักของการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงใน ประเทศไทย คือ การที่ผู้ที่เป็น โรคไม่ได้ตระหนักว่าเป็นโรค แม้จะตระหนักก็ยังไม่เชื่อถือและไม่ได้ ติดตามรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง โรคความ ดันโลหิตสูง เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน กล้ามเนื้อหัวใจตายหรือขาดเลือด โรคหลอด เลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ไตวายเรื้อรัง หัวใจล้มเหลวและสมองเสื่อม นอกจากนี้ ระดับความดันโลหิตที่สูงขึ้น อย่างรวดเร็วยังเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดหลอดเลือดสมองแตก เลือดออกในสมอง (Hemorrhagicstroke) หลอดเลือดหัวใจตีบตันเกิดภาวะหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันหรือหลอดเลือดแดงใหญ่ฉีกขาด โรคความดันโลหิตสูงจึงเป็น ปัจจัยเสี่ยงในการเสียชีวิต ด้วยข้อมูลจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่าโรค เรื้อรังหรือโรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่ม เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การไม่ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีรสเหวาน มัน เค็มจัด รวมถึงความเครียด ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและหัวใจ มะเร็ง ถุงลมโป่ง พองและ โรคอ้วนลงพุง และทำให้อายุไขของคนป่วยกลุ่มนี้จะมีอายุต่ำกว่า ๖๐ ปี โดยจากสถิติพบว่า คนไทย เสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปีละ ๓ แสนคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยคิดเป็นร้อยละ ๗๓ ของ สาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย โดยทั่วโลก สาเหตุการตายด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ ๖๓ ของสาเหตุการ ตายของประชากรโลก ปัจจุบันพบว่าอัตราความชุกของ โรคความดันโลหิตสูง เครือข่ายบริการสุขภาพ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี รวมถึงผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการผู้ป่วยนอก เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปีเช่นกัน จากการจัดลำดับ ความชุก ๑๐ อันดับโรคของผู้รับบริการพบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จัดอยู่ในอันดับที่ ๑ และ พบจำนวน สูงสุดในกลุ่มผู้ป่วยอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป รองลงมาพบในกลุ่มอายุ ๔๐-๖๐ ปี และพบจำนวนน้อยในช่วงอายุน้อยกว่า ๔๐ ปี ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง พบโรคแทรกซ้อนร้อยละ ๕๕.๗๗ และยังพบว่ามีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่ ต้องเข้านอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ อีกเป็นจำนวนมาก
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 54,000.00 | 0 | 0.00 | 54,000.00 | |
15 มิ.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | ค้นหาและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและยืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง | 0 | 54,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 54,000.00 | 0 | 0.00 | 54,000.00 |
1) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการวัดความดันโลหิตสูง
2) กลุ่มสงสัยป่วยได้รับความดันโลหิตสูงที่บ้าน
3) ประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 มิ.ย. 2568 11:00 น.