2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
กระทรวงสาธารณสุขใช้การสร้างภูมิคุ้มกันเป็นกลวิธีและหลักสำคัญในการป้องกันและควบคุบคุมโรคติดต่อได้ด้วยวัคซึน โดยบรรจุไว้ไต้แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มโรคมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยการให้วัคชีนแก่ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานเข้ากับการบริการสาธาธารณสุขตามระบปกติโรคติดต่ต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีนเป็นโรคที่ค่อยๆ หายไปจากประเทศไทยเนื่องจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม และการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงบริการการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีนของระบบสาธารณสุขมากยิ่งขึ้น โดยความสำเร็จของวัคชีนในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีนนั้นขึ้นกับองค์ประกอบสำคัญ ๒ ประการ คือ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน (Vaccine coverage) สูง และประสิทธิผลของวัคซีน (vaccine effectiveness) ดี อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีปัญหาโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีนสูงตั้งแต่ก่อนเริ่มมีเหตุการณ์ความไม่ส่งนั้น เป็นเพราะองค์ประกอบสำคัญทั้ง ๒ ประการนี้ยังไม่สมบูรณ์
จากสถานการณ์ข้อมูลผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๐-๕ ปี ในพื้นที่หมู่ ๑ ,หมู่ ๒ หมู่๖และหมู่ ๗ ตำบลท่ากำกำ อำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำ ในช่วงปีที่ผ่านมา ปึงปประมาณ ๒๕๖๗ พบว่า ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๑ ปี ได้รับวัคซีน BCG แรกเกิด และวัคซีน HBV๑ แรกเกิด (เกณฑ์ร้อยละ ๙๐) เป้าหมายจำนวน ๕๒ คน ผลงานจำนวน ๕๒ คน (ร้อยละ ๑๐๐) ซึ่งผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๑ ปีที่ได้รับวัคซีน DTP-HB+Hib๓ +OPV๓ (เกณฑ์ร้อยละ ๙๐) เป้าหมายจำนวน ๕๒ คน ผลงานจำนจำนวน ๒๑ คน (ร้อยละ ๔๐.๓๘) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๑ ปีที่ได้รับวัคชีน MMRด (เกณฑ์ร้อยละ ๙๕) เป้าหมายจำนวน ๕๒ คน ผลงานจำนวน ๒๒ คน (ร้อยละ ๔๒.๓๐) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๒ ปีที่ได้รับวัคชีน DTP&+OPV๔ (ร้อยละ ๙๐) เป้าหมายจำนวน ๔๐ คน ผลงานจำนวน ๑๕ คน (ร้อยละ ๓๗,๕) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๒ ปีที่ได้รับวัคซีน JE๑ (ร้อยละ ๙๐) เป้าหมายจำนวน ๔๐ คน ผลงานจำนวน ๑๗ คน (ร้อยละ ๔๒.๕) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๒ ปีที่ได้รับวัคชีน MMRด เก็บตก (ร้อยละ ๙๕)เป้าหมายจำนวน ๔๐ คน ผลงานจำนวน ๒๕ คน (ร้อยละ ๖๒.๕) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๓ ปีที่ได้รับวัคชีน JE๒ (ร้อยละ ๙๐) เป้าหมายจำนวน๕๒ คน ผลงานจำนวน ๑๘ คน (ร้อยละ ๓๔.๖๓) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๓ ปี ที่ได้รับวัคขึ้น MMP๒ (ร้อะ ๓ะ ๓๕) เป้าหมายจำนวน ๕๒ คน ผลงานจำนวน ๒๐ คน (ร้อยละ ๓๘.๔๖) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๕ ปีที่ได้รับวัคชีน DTP๕ ,โปลิโอ๕ (ร้อยละ ๙๐)เป้าหมายจำนวน ๖๒ คน ผลงานจำนวน ๓๖ คน (ร้อยละ ๕๘,๐๖) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
จากการวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาในพื้นที่พบว่า อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ ๐-๕ ปี ยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธาธารณสุขได้วางไว้ สาเหตุมาจากผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ทัศนคติในการนำบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีน ,หลังจากฉีดวัคซีนแล้วกลัวลูกไม่สบาย ,พ่อแม่ทำงานนอกพื้นที่ทำให้ปู่ย่าตายายต้องเลี้ยงดูลูกหลานพอถึงช่วงนัดฉีดวัคชีนต้องได้รับอนุญาติจากผู้ปกครองเด็กก่อน ,บางคนพ่อแม่ต้องพาลูกไปที่ทำงาน ทำให้ขาดการนัดฉีดฉีดวัคซีน ,การติดตามของเจ้าหน้าที่รพ.สต.และ อสม.ติดตามยังไม่ต่อเนื่อง,ติดตามเยี่ยมบ้านไม่พบผู้ปกครองเด็ก ไม่อยู่บ้าน/เบอร์โทรติดต่อไม่ได้บ้าง ,สามีไม่ให้ฉีดบ้าง ,ฉีดแล้วกลัวลูกเดินไม่ได้บ้าง และเด็กเล็กอายุ ๓-๖ ปีพ่อแม่ส่งไปเรียนที่อื่นนอกพื้นที่ทำให้การติดตามไม่ต่อเนื่อง หากจะพาลูกมาฉีดวัคซีนที่ รพ.สต.ส่งผลทำให้เด็กต้องหยุดเรียน หลังจากผ่านสถานการณ์ช่วงโควิดที่ผ่านมาทำให้ผู้ปกครองเด็กมีความวิตกกังวลผลข้างเคียงของวัคชีน เป็นต้น ประกอบด้วยในปัจจุบันจังหวัดปัตตานี ก็เกิดสถานการณ์โรคไอกรนกำลังระบาดอย่างหนัก ณ ข้อมูลวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๖๖ -๓๑ มกราคม ๒๕๖๗ พบผู้ป่วยติดเชื้อสะสมทั้งหมดจำนวน ๔๐๐ ราย ผู้ป่วยที่ติดเชื้อสะสม จำนวน ๒๔๔ ราย เป็นผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ จำนวน ๓ ราย เป็นผู้ป่วยที่เข้าข่ายสะสม จำนวน ๑๔๔ ราย เป็นผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัยสงสัยสะสมจำนวน ๑๒ ราย รอผลตรวจจากห้องปฏิบัติการ จำนวน ๒๒ ราย เป็นผู้ป่วยที่เสียชีวิต จำนวน ๒ ราย (เป็นเด็กอายุ ๑๘ วัน เสียชีวิตในเดือน ก.ย.๖๖, เด็กอายุ ๑ เดือน ๒๘ วัน เสียชีวิตในช่วงเดือน ธ.ค.๖๖) สถานการณ์การระบาดโรคหัด จังหวัดปัตตานีมีผู้ป่วยโรคหัดสะสม ตั้งแต่ ๑ มกราคม - ๑๙ กันยายน ๒๕๖๗ รวม ๑,๖๓๖ ราย เสียชีวิต ๑ ราย เพศชายอายุ ๑๑ เดือน มีประวัติไม่ได้รับวัคซีน ในส่วนของสถานการณ์โรคหัด กำลังระบาดในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๙ มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ๖ ราย เพศชาย ๕ ราย เพศหญิง ๑ ราย ส่วนใหญ่สาเหตุมาจากประวัติการไม่ได้รับวัคชีน ซึ่งปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินงานในเชิงรุกส่งผลทำให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มีความครอบคลุมไม่บรรลุตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาแก้ไขอย่างเร่งด่วน หากไม่มีการดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมอาจส่งผลให้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีน ซึ่งเป็นโรคติดต่อร้ายแรงมากยิ่งขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับเด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๐-๕ ปี จึงได้จัดทำโครงการพ่อแม่ ยุคใหม่ใส่ใจลูกรักปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ขึ้นมาเพื่อส่งเสริมให้เด็กไทยมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีนและเป็นบันไดสู่ความสำเร็จของการมีสุขภาพดี เพื่อนำไปสู่การเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าของประเทศชาติต่อไปใบในอนาคต
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/01/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?๑.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น
๒.ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคชีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
๓.เด็กอายุ ๐-๕ ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบชุดตามเกณฑ์อายุ
๔.ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
๕ เด็กที่ขาดวัคซีนได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านโดย อสม.,เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ท่ากำชำ และเครือข่ายแกนนำชุมชม