กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ รหัส กปท. L3066

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจลูกรัก
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำ
3.
หลักการและเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขใช้การสร้างภูมิคุ้มกันเป็นกลวิธีและหลักสำคัญในการป้องกันและควบคุบคุมโรคติดต่อได้ด้วยวัคซึน โดยบรรจุไว้ไต้แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มโรคมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยการให้วัคชีนแก่ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานเข้ากับการบริการสาธาธารณสุขตามระบปกติโรคติดต่ต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีนเป็นโรคที่ค่อยๆ หายไปจากประเทศไทยเนื่องจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม และการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงบริการการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีนของระบบสาธารณสุขมากยิ่งขึ้น โดยความสำเร็จของวัคชีนในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีนนั้นขึ้นกับองค์ประกอบสำคัญ ๒ ประการ คือ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน (Vaccine coverage) สูง และประสิทธิผลของวัคซีน (vaccine effectiveness) ดี อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีปัญหาโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีนสูงตั้งแต่ก่อนเริ่มมีเหตุการณ์ความไม่ส่งนั้น เป็นเพราะองค์ประกอบสำคัญทั้ง ๒ ประการนี้ยังไม่สมบูรณ์ จากสถานการณ์ข้อมูลผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๐-๕ ปี ในพื้นที่หมู่ ๑ ,หมู่ ๒ หมู่๖และหมู่ ๗ ตำบลท่ากำกำ อำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำ ในช่วงปีที่ผ่านมา ปึงปประมาณ ๒๕๖๗ พบว่า ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๑ ปี ได้รับวัคซีน BCG แรกเกิด และวัคซีน HBV๑ แรกเกิด (เกณฑ์ร้อยละ ๙๐) เป้าหมายจำนวน ๕๒ คน ผลงานจำนวน ๕๒ คน (ร้อยละ ๑๐๐) ซึ่งผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ -ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๑ ปีที่ได้รับวัคซีน DTP-HB+Hib๓ +OPV๓ (เกณฑ์ร้อยละ ๙๐) เป้าหมายจำนวน ๕๒ คน ผลงานจำนจำนวน ๒๑ คน (ร้อยละ ๔๐.๓๘) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ -ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๑ ปีที่ได้รับวัคชีน MMRด (เกณฑ์ร้อยละ ๙๕) เป้าหมายจำนวน ๕๒ คน ผลงานจำนวน ๒๒ คน (ร้อยละ ๔๒.๓๐) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ -ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๒ ปีที่ได้รับวัคชีน DTP&+OPV๔ (ร้อยละ ๙๐) เป้าหมายจำนวน ๔๐ คน ผลงานจำนวน ๑๕ คน (ร้อยละ ๓๗,๕) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ -ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๒ ปีที่ได้รับวัคซีน JE๑ (ร้อยละ ๙๐) เป้าหมายจำนวน ๔๐ คน ผลงานจำนวน ๑๗ คน (ร้อยละ ๔๒.๕) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธาธารณสุขได้วางไว้ -ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๒ ปีที่ได้รับวัคชีน MMRด เก็บตก (ร้อยละ ๙๕)เป้าหมายจำนวน ๔๐ คน ผลงานจำนวน ๒๕ คน (ร้อยละ ๖๒.๕) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ -ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๓ ปีที่ได้รับวัคชีน JE๒ (ร้อยละ ๙๐) เป้าหมายจำนวน๕๒ คน ผลงานจำนวน ๑๘ คน (ร้อยละ ๓๔.๖๓) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๓ ปี ที่ได้รับวัคขึ้น MMP๒ (ร้อะ ๓ะ ๓๕) เป้าหมายจำนวน ๕๒ คน ผลงานจำนวน ๒๐ คน (ร้อยละ ๓๘.๔๖) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ -ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ ๕ ปีที่ได้รับวัคชีน DTP๕ ,โปลิโอ๕ (ร้อยละ ๙๐)เป้าหมายจำนวน ๖๒ คน ผลงานจำนวน ๓๖ คน (ร้อยละ ๕๘,๐๖) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาในพื้นที่พบว่า อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ ๐-๕ ปี ยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธาธารณสุขได้วางไว้ สาเหตุมาจากผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ทัศนคติในการนำบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีน ,หลังจากฉีดวัคซีนแล้วกลัวลูกไม่สบาย ,พ่อแม่ทำงานนอกพื้นที่ทำให้ปู่ย่าตายายต้องเลี้ยงดูลูกหลานพอถึงช่วงนัดฉีดวัคชีนต้องได้รับอนุญาติจากผู้ปกครองเด็กก่อน ,บางคนพ่อแม่ต้องพาลูกไปที่ทำงาน ทำให้ขาดการนัดฉีดฉีดวัคซีน ,การติดตามของเจ้าหน้าที่รพ.สต.และ อสม.ติดตามยังไม่ต่อเนื่อง,ติดตามเยี่ยมบ้านไม่พบผู้ปกครองเด็ก ไม่อยู่บ้าน/เบอร์โทรติดต่อไม่ได้บ้าง ,สามีไม่ให้ฉีดบ้าง ,ฉีดแล้วกลัวลูกเดินไม่ได้บ้าง และเด็กเล็กอายุ ๓-๖ ปีพ่อแม่ส่งไปเรียนที่อื่นนอกพื้นที่ทำให้การติดตามไม่ต่อเนื่อง หากจะพาลูกมาฉีดวัคซีนที่ รพ.สต.ส่งผลทำให้เด็กต้องหยุดเรียน หลังจากผ่านสถานการณ์ช่วงโควิดที่ผ่านมาทำให้ผู้ปกครองเด็กมีความวิตกกังวลผลข้างเคียงของวัคชีน เป็นต้น ประกอบด้วยในปัจจุบันจังหวัดปัตตานี ก็เกิดสถานการณ์โรคไอกรนกำลังระบาดอย่างหนัก ณ ข้อมูลวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๖๖ -๓๑ มกราคม ๒๕๖๗ พบผู้ป่วยติดเชื้อสะสมทั้งหมดจำนวน ๔๐๐ ราย ผู้ป่วยที่ติดเชื้อสะสม จำนวน ๒๔๔ ราย เป็นผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ จำนวน ๓ ราย เป็นผู้ป่วยที่เข้าข่ายสะสม จำนวน ๑๔๔ ราย เป็นผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัยสงสัยสะสมจำนวน ๑๒ ราย รอผลตรวจจากห้องปฏิบัติการ จำนวน ๒๒ ราย เป็นผู้ป่วยที่เสียชีวิต จำนวน ๒ ราย (เป็นเด็กอายุ ๑๘ วัน เสียชีวิตในเดือน ก.ย.๖๖, เด็กอายุ ๑ เดือน ๒๘ วัน เสียชีวิตในช่วงเดือน ธ.ค.๖๖) สถานการณ์การระบาดโรคหัด จังหวัดปัตตานีมีผู้ป่วยโรคหัดสะสม ตั้งแต่ ๑ มกราคม - ๑๙ กันยายน ๒๕๖๗ รวม ๑,๖๓๖ ราย เสียชีวิต ๑ ราย เพศชายอายุ ๑๑ เดือน มีประวัติไม่ได้รับวัคซีน ในส่วนของสถานการณ์โรคหัด กำลังระบาดในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๙ มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ๖ ราย เพศชาย ๕ ราย เพศหญิง ๑ ราย ส่วนใหญ่สาเหตุมาจากประวัติการไม่ได้รับวัคชีน ซึ่งปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินงานในเชิงรุกส่งผลทำให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มีความครอบคลุมไม่บรรลุตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาแก้ไขอย่างเร่งด่วน หากไม่มีการดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมอาจส่งผลให้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีน ซึ่งเป็นโรคติดต่อร้ายแรงมากยิ่งขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ากำชำ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับเด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๐-๕ ปี จึงได้จัดทำโครงการพ่อแม่ ยุคใหม่ใส่ใจลูกรักปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ขึ้นมาเพื่อส่งเสริมให้เด็กไทยมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคชีนและเป็นบันไดสู่ความสำเร็จของการมีสุขภาพดี เพื่อนำไปสู่การเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าของประเทศชาติต่อไปใบในอนาคต

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคชีน อาการข้างเคียง และการดูแลหลังได้รับวัคชีน
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีควานรู้เรื่องวัดขึ้น อาการข้างดียง และการดูแลหลังได้รับชื่น ร้อยละ ๘๐
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมชี้แจ้งรายละเอียดการดำเนินงานโครงการให้กับเครือข่ายในชุมชนและคืนข้อมูลปัญหาทางด้านสุขภาพให้กับเครือข่ายในชุมชน
    รายละเอียด

    -ค่าอาหาว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๕๐ คน อัตราคนละ ๓๕ บาท จำนวน ๒ มื้อ  เป็นเงิน ๓,๕๐๐ บาท -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๕๐ คน อัตราคนละ ๗๐ บาท จำนวน ๑ มื้อ  เป็นเงิน ๓,๕๐๐ บาท

    งบประมาณ 7,000.00 บาท
  • 2. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องแก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กในด้านต่างๆ เช่น อาหารเหมาะสม ตามวัยในเด็ก ๐-๕ ปี , ส่งเสริมผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กยุคใหม่พาบุตรหลานมารับวัดชีนครบตามเกณฑ์ ,ให้ความรู้ เรื่องภาวะซีดในเด็กและอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง ,ส่งเสริมให้ผู้ปกครอง/ผ
    รายละเอียด

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๔๕ คน อัตราคนละ ๓๕ บาท จำนวน ๒ มื้อ เป็นเงิน ๓,๑๕๐ บาท เป็นเงิน ๓,๑๕๐ บาท
    -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๕๐ คน อัตราคนละ ๗๐ บาท จำนวน ๑ มื้อ เป็นเงิน ๓,๑๕๐ บาท
    -ค่าวิทยากรดำเมินรายการ จำนวน ๑ คน อัตราคนละ ๖๐๐ บาท/ชั่วโมง จำนวนคนละ ๓ ชั่วโมง รวม ๖ ชั่วโมง เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท
    -ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด ๑.๖ เมตร x ๒.๕ เมตร เป็นเงิน ๑,๒๐๐ บาท ราคาตารางเมตรละ ๓๐๐ บาท จำนวน ๑ ผืนเป็นเงิน 1,200 บาท
    ค่าวัสดุสำนักงาน รายละเอียด ดังนี้
    -ค่าปากกา จำนวน ๔๕ ด้ามๆละ ๑๐ บาท เป็นเงิน ๔๕๐ บาท
    -ค่าแฟ้มใส่เอกสาร จำนวน ๔๕ ชุดๆละ ๘ บาท เป็นเงิน ๓๖๐ บาท
    -ค่าสมุดโน้ต จำนวน ๔๕ เล่มx เล่มละ ๒๐ บาท เป็นเงิน ๙๐๐ บาท

    งบประมาณ 11,010.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

พื้นที่ 1,2,6 และ7

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 18,010.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

๑.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น
๒.ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคชีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
๓.เด็กอายุ ๐-๕ ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบชุดตามเกณฑ์อายุ
๔.ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ๕ เด็กที่ขาดวัคซีนได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านโดย อสม.,เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ท่ากำชำ และเครือข่ายแกนนำชุมชม

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ รหัส กปท. L3066

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ รหัส กปท. L3066

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 18,010.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................