กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการรณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ในพื้นที่ตำบลยะหา ประจำปีงบประมาณ 2568

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ในพื้นที่ตำบลยะหา ประจำปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. จัดอบรมหอประชุมโรงเรียนธรรมอิสลามศึกษา 2. รณรงค์และฉีดพ่นสารเคมี (หมอกควัน) โรงเรียน, วัด, มัสยิด, ปอเนาะ ในพื้นที่ตำบลยะหาพื้นที่ตำบลยะหาทั้ง 9 หมู่บ้าน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

“โรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่” เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ หากทุกคนให้ความสำคัญ และตระหนักถึงอันตรายของโรค รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขปัญหาโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ โดยเน้นให้ประชาชนมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ของตนเอง อันจะทำให้การดำเนินงานแก้ไขปัญหาเกิดความยั่งยืนโดยมุ่งพัฒนาให้มีระบบเฝ้าระวังสภาวการณ์ผิดปกติในชุมชน รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน สร้างเครือข่ายเพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมอันจะทำให้เกิดประสิทธิผล ต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ได้ทันท่วงทีโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ สำหรับในเขตร้อน อากาศอบอุ่นจนถึงร้อนจัดตลอดปี และมีฝนตกชุก มีความชื้นสูง เป็นผลให้เชื้อโรคต่างๆ ชุกชุม เมื่อมีการติดต่อถ่ายทอดไปยังผู้อื่น ก็จะทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้น จึงจะต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน และมีมาตรฐานในแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย โรคตาแดง ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินจำนวนมาก นั้น
ประกอบกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา ถือเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการด้านการสนับสนุน ส่งเสริม ฟื้นฟู และระงับโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในพื้นที่ และตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน ตามมาตรา 67 (3) กำหนดให้มีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ ดังนั้น เพื่อให้การป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังโรคติดต่อเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ในพื้นที่ตำบลยะหา ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง
  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    1. สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา
100.00 1.00
2 2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา

สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา

100.00 1.00
3 3 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังสภาวการณ์การเกิดโรค การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ในพื้นที่ตำบลยะหา

ในพื้นที่ตำบลยะหา มีสภาวการณ์การเกิดโรคที่ไม่อยู่ในระดับที่เป็นอันตรายและไม่มีผู้ที่เสียชีวิต จากโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่

100.00 1.00
4 4.เพื่อชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน

ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนทุกพื้นที่ในเขตตำบลยะหา

100.00 1.00

“โรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่” เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ หากทุกคนให้ความสำคัญ และตระหนักถึงอันตรายของโรค รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขปัญหาโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ โดยเน้นให้ประชาชนมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ของตนเอง อันจะทำให้การดำเนินงานแก้ไขปัญหาเกิดความยั่งยืนโดยมุ่งพัฒนาให้มีระบบเฝ้าระวังสภาวการณ์ผิดปกติในชุมชน รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน สร้างเครือข่ายเพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมอันจะทำให้เกิดประสิทธิผล ต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ได้ทันท่วงทีโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ สำหรับในเขตร้อน อากาศอบอุ่นจนถึงร้อนจัดตลอดปี และมีฝนตกชุก มีความชื้นสูง เป็นผลให้เชื้อโรคต่างๆ ชุกชุม เมื่อมีการติดต่อถ่ายทอดไปยังผู้อื่น ก็จะทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้น จึงจะต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน และมีมาตรฐานในแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย โรคตาแดง ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินจำนวนมาก นั้น
ประกอบกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา ถือเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการด้านการสนับสนุน ส่งเสริม ฟื้นฟู และระงับโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในพื้นที่ และตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน ตามมาตรา 67 (3) กำหนดให้มีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ ดังนั้น เพื่อให้การป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังโรคติดต่อเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ในพื้นที่ตำบลยะหา ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. อบรมให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่

ชื่อกิจกรรม
1. อบรมให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ 1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ 3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. การดำเนินกิจกรรม 4.1 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ในพื้นที่ตำบลยะหา 4.2 ส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมบูรณาการออกประชาสัมพันธ์ ร่วมรณรงค์และแจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ได้แก่ โรคไข้เลือดออกโรคมาลาเรีย และโรคตาแดง 4.3 จัดกิจกรรมการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบริเวณโรงเรียน, ชุมชน, วัด, มัสยิด โดยออกดำเนินการทุกเดือน (เดือนละ 2 ครั้ง)
4.4 กิจกรรมการลงพื้นที่ฉีดพ่นสารเคมี (หมอกควัน) เพื่อกำจัดยุงลาย ได้แก่ บริเวณสถานศึกษา,วัด, มัสยิด, ปอเนาะ โดยออกดำเนินการแห่งละ 2 ครั้ง

งบประมาณ 1. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน1,800 บาท 2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 100 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน5,000 บาท 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 100 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน5,000 บาท 4. ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับใช้ในการจัดกิจกรรม เช่น สมุด ปากกา แฟ้มใส่เอกสาร จำนวน 100 ชุด ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน5,000 บาท 5. ป้ายไวนิลโครงการจำนวน 1 ผืน เป็นเงิน800 บาท
รวมเป็นเงิน 17,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา
  3. ในพื้นที่ตำบลยะหา มีสภาวการณ์การเกิดโรคที่ไม่อยู่ในระดับที่เป็นอันตรายและไม่มีผู้ที่เสียชีวิตจากโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่
  4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนทุกพื้นที่ในเขตตำบลยะหา
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17600.00

กิจกรรมที่ 2 2. กิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ จำนวนเงิน 20,200 บาทรายละเอียดดังนี้

ชื่อกิจกรรม
2. กิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะ จำนวนเงิน 20,200 บาทรายละเอียดดังนี้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ 1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ 3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. การดำเนินกิจกรรม 4.1 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ในพื้นที่ตำบลยะหา 4.2 ส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมบูรณาการออกประชาสัมพันธ์ ร่วมรณรงค์และแจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ได้แก่ โรคไข้เลือดออกโรคมาลาเรีย และโรคตาแดง 4.3 จัดกิจกรรมการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบริเวณโรงเรียน, ชุมชน, วัด, มัสยิด โดยออกดำเนินการทุกเดือน (เดือนละ 2 ครั้ง)
4.4 กิจกรรมการลงพื้นที่ฉีดพ่นสารเคมี (หมอกควัน) เพื่อกำจัดยุงลาย ได้แก่ บริเวณสถานศึกษา,วัด, มัสยิด, ปอเนาะ โดยออกดำเนินการแห่งละ 2 ครั้ง

งบประมาณ 1. ค่าทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ทรายอะเบท) จำนวน 3 ถัง ๆ ละ 4,500 บาท เป็นเงิน 13,500 บาท 2. ค่าป้ายรณรงค์(ป้ายโฟมบอร์ดขนาด 0.5 x 0.5) จำนวน 10ป้ายเป็นเงิน 3,000 บาท 3. น้ำยาทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรคอเนกประสงค์สูตรเข้มข้น จำนวน 2 แกลอนๆละ1,350 บาทเป็นเงิน2,700บาท
4. ค่าแผ่นพับสีรณรงค์โรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะ และโรคอุบัติใหม่ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก,มาลาเรีย ตาแดง จำนวน 100 แผ่น ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 20,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา
  3. ในพื้นที่ตำบลยะหา มีสภาวการณ์การเกิดโรคที่ไม่อยู่ในระดับที่เป็นอันตรายและไม่มีผู้ที่เสียชีวิตจากโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่
  4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนทุกพื้นที่ในเขตตำบลยะหา
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20200.00

กิจกรรมที่ 3 3. กิจกรรมพ่นสารเคมี (หมอกควัน) จำนวนเงิน 62,200 บาท รายละเอียดดังนี้

ชื่อกิจกรรม
3. กิจกรรมพ่นสารเคมี (หมอกควัน) จำนวนเงิน 62,200 บาท รายละเอียดดังนี้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ 1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ 3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. การดำเนินกิจกรรม 4.1 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ในพื้นที่ตำบลยะหา 4.2 ส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมบูรณาการออกประชาสัมพันธ์ ร่วมรณรงค์และแจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยมีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ได้แก่ โรคไข้เลือดออกโรคมาลาเรีย และโรคตาแดง 4.3 จัดกิจกรรมการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบริเวณโรงเรียน, ชุมชน, วัด, มัสยิด โดยออกดำเนินการทุกเดือน (เดือนละ 2 ครั้ง)
4.4 กิจกรรมการลงพื้นที่ฉีดพ่นสารเคมี (หมอกควัน) เพื่อกำจัดยุงลาย ได้แก่ บริเวณสถานศึกษา,วัด, มัสยิด, ปอเนาะ โดยออกดำเนินการแห่งละ 2 ครั้ง

งบประมาณ 1. ค่าน้ำยาพ่นหมอกควัน จำนวน 6 ขวด ๆ ละ 2,400 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท 2. ค่าน้ำมันดีเซล และน้ำมันเบนซิน จำนวน 200 ลิตร เป็นเงิน 10,000 บาท 3. ค่าจ้างเหมาพ่นสารเคมี (หมอกควัน)(ในสถานศึกษา, วัด, มัสยิด, ส่วนราชการ)จำนวน 11 แห่ง ๆ ละ 2 ครั้ง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 3 คน เป็นเงิน19,800 บาท 4. ค่าจ้างเหมาพ่นสารเคมี (หมอกควัน) (บริเวณครัวเรือนในพื้นที่ กรณีเกิดโรคระบาด) จำนวน 30 ครัวเรือน ๆ 3 ครั้ง ๆ ละ 200 บาท จำนวน 1 คนเป็นเงิน 18,000 บาท รวมเป็นเงิน 62,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา
  3. ในพื้นที่ตำบลยะหา มีสภาวการณ์การเกิดโรคที่ไม่อยู่ในระดับที่เป็นอันตรายและไม่มีผู้ที่เสียชีวิตจากโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่
  4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนทุกพื้นที่ในเขตตำบลยะหา
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
62200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 100,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
2. สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลยะหา
3. ในพื้นที่ตำบลยะหา มีสภาวการณ์การเกิดโรคที่ไม่อยู่ในระดับที่เป็นอันตรายและไม่มีผู้ที่เสียชีวิต
จากโรคติดต่อที่มีแมลงเป็นพาหะและโรคอุบัติใหม่
4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนทุกพื้นที่ในเขตตำบลยะหา


>