กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมความตระหนักรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนตำบลอุใดเจริญ ภายใต้กิจกรรม “เข้าใจยาเสพติด เข้าใจตัวเอง : เส้นทางสู่การมีสุขภาพจิตที่ดี

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมความตระหนักรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนตำบลอุใดเจริญ ภายใต้กิจกรรม “เข้าใจยาเสพติด เข้าใจตัวเอง : เส้นทางสู่การมีสุขภาพจิตที่ดี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

ชมรม TO BE NUMBER ONE ชุมชนบ้านอุใดเจริญ

1. นายจิรภัทร ย่องเซ่งประธานชมรม
2. นางสาวฐิติพร เบ้าตุ้มกรรมการ
3. นางสาวสุธาสิณีจินดามณีกรรมการ
4. นางสาวนริศรา มีชาวนา กรรมการ
5. นางสาวรวิภา พวงรัตน์ กรรมการ
6. นายชนินทร์จินดามณี ที่ปรึกษาชมรม
7. นางสาวยุวดี คงนวลที่ปรึกษาชมรม

บ้านอุใดเจริญ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ยาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนในชุมชนตำบลอุใดเจริญ ซึ่งอาจนำไปสู่ความรุนแรงในครอบครัว ปัญหาอาชญากรรม และการหลุดออกจากระบบการศึกษา การส่งเสริมให้เยาวชนมีสุขภาวะจิตที่ดี ทักษะชีวิตที่เข้มแข็ง และพื้นที่แสดงออกที่สร้างสรรค์ เป็นแนวทางสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด ชมรม To Be Number One ชุมชนอุใดเจริญ จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต สร้างความเข้มแข็งทางอารมณ์ เสริมสร้างความรู้เท่าทันยาเสพติด และพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนอย่างรอบด้าน โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก สปสช. เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจในกลุ่มเด็กและเยาวชน

ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมมีความรู้เรื่องสุขภาพจิตและยาเสพติดเพิ่มขึ้น

0.00
2 เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและความสามารถในการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์

เด็กและเยาวชนสามารถแสดงออกทางความคิดและทักษะชีวิตผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์

0.00
3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีพื้นที่สร้างสรรค์ห่างไกลยาเสพติด

เกิดเครือข่ายเยาวชน To Be Number One ที่เข้มแข็งในระดับตำบล

0.00
4 เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนและชุมชนร่วมป้องกันปัญหายาเสพติด

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 23/06/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2

ชื่อกิจกรรม
โรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมครั้งที่  1  โรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 (กลุ่มเป้าหมาย นร. รร.นิคม2 40 คน แกนนำ 15 คน คณะทำงาน 5 คน รวม 60 คน) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  -เรื่องยาเสพติด   -เรื่องสุขภาพจิต 2.กิจกรรมกลุ่ม “สถานการณ์สมมติ”
- จำลองเหตุการณ์เรื่องการเรียนรู้ทักษะชีวิตการมีส่วนร่วมการป้องกันยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนอาจต้องเผชิญ
- ฝึกการคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มเรื่องยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชน 3.ประเมินสุขภาพจิตเบื้องต้น -แบบประเมินตนเองด้านอารมณ์และพฤติกรรม
-การประมวลผลเบื้องต้นและแนวทางแนะนำ 4.ค้นหาแกนนำเพิ่มเติม  จำนวน 10 คน 5.สรุปกิจกรรม/ตอบคำถาม/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 6.ทำแบบประเมิน/ปิดโครงการ/ถ่ายภาพร่วมกัน 1.ค่าวิทยากร       เป็นเงิน  3,600 บ. -วิทยากรบรรยาย 1 คน  จำนวน 3 ชม. ๆ ละ 600 บาท       เป็นเงิน  1,800 บ.
-วิทยากรกลุ่ม  จำนวน  2 ชม. ๆ ละ 300 บาท จำนวน  3 คน  เป็นเงิน  1,800 บ. 2.ค่าอาหารว่าง 35  บาท  60 คน  ๆ ละ 2 มื้อ                 เป็นเงิน  4,200 บ.
3. ค่าอาหารกลางวัน 70 บ. 60 คน เป็นเงิน 4,200 บ.
4.ค่าวัสดุปากกา สมุด  แฟ้ม  ชุดละ  35 บ. จำนวน  55 ชุด  เป็นเงิน 1,925บ. 5.ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย  ขนาด  1.2 * 2.5  เมตร    เป็นเงิน    450   บาท 6.วัสดุอุปกรณ์อื่น ๆ กระดาษบรุ๊ฟ  ปากกาเคมี กระดาษเกียรติบัตร ฯลฯ (ใช้ทั้ง 3 กิจกรรม)เป็นเงิน  675  บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
23 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้กับเด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องสุขภาพจิตและยาเสพติดเพิ่มขึ้น

2 เด็กและเยาวชนมีทักษะชีวิตที่ดีขึ้น ลดพฤติกรรมความเสี่ยงการติดยาให้น้อยลง

3มีเครือข่ายเยาวชน To Be Number One ที่เข้มแข็ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15050.00

กิจกรรมที่ 2 โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 120

ชื่อกิจกรรม
โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 120
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมครั้งที่2โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 120 (กลุ่มเป้าหมาย นร. รร.ผัง 120 30 คน แกนนำ 15 คณะทำงาน 5 คน รวม 50 คน) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ -เรื่องยาเสพติด -เรื่องสุขภาพจิต 2.กิจกรรมกลุ่ม “สถานการณ์สมมติ”
- จำลองเหตุการณ์เรื่องการเรียนรู้ทักษะชีวิตการมีส่วนร่วมการป้องกันยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนอาจต้องเผชิญ
- ฝึกการคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มเรื่องยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชน 3.ประเมินสุขภาพจิตเบื้องต้น -แบบประเมินตนเองด้านอารมณ์และพฤติกรรม
-การประมวลผลเบื้องต้นและแนวทางแนะนำ 4.ค้นหาแกนนำเพิ่มเติมจำนวน 10 คน 5.สรุปกิจกรรม/ตอบคำถาม/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 6.ทำแบบประเมิน/ปิดโครงการ/ถ่ายภาพร่วมกัน

1.ค่าวิทยากร เป็นเงิน3,600 บ. -วิทยากรบรรยาย 1 คนจำนวน 3 ชม. ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน1,800 บ.
-วิทยากรกลุ่มจำนวน2 ชม. ๆ ละ 300 บาท จำนวน3 คน เป็นเงิน1,800 บ. 2.ค่าอาหารว่าง 35บาท50 คนๆ ละ 2 มื้อเป็นเงิน3,500 บ.
3. ค่าอาหารกลางวัน 70 บ. 50 คน เป็นเงิน 3,500 บ.
4.ค่าวัสดุปากกา สมุดแฟ้มชุดละ35 บ. จำนวน45 ชุดเป็นเงิน 1,575 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
23 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้กับเด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องสุขภาพจิตและยาเสพติดเพิ่มขึ้น

2 เด็กและเยาวชนมีทักษะชีวิตที่ดีขึ้น ลดพฤติกรรมความเสี่ยงการติดยาให้น้อยลง

3มีเครือข่ายเยาวชน To Be Number One ที่เข้มแข็ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12175.00

กิจกรรมที่ 3 โรงเรียนบ้านอุใดใต้

ชื่อกิจกรรม
โรงเรียนบ้านอุใดใต้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมครั้งที่  3  โรงเรียนบ้านอุใดใต้
(กลุ่มเป้าหมาย นร. รร.บ.อุใดใต้ 30 คน แกนนำ 15 คณะทำงาน 5 คน รวม 50 คน 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  -เรื่องยาเสพติด   -เรื่องสุขภาพจิต 2.กิจกรรมกลุ่ม “สถานการณ์สมมติ”
- จำลองเหตุการณ์เรื่องการเรียนรู้ทักษะชีวิตการมีส่วนร่วมการป้องกันยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนอาจต้องเผชิญ
- ฝึกการคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชน
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มเรื่องยาเสพติดและสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชน 3.ประเมินสุขภาพจิตเบื้องต้น -แบบประเมินตนเองด้านอารมณ์และพฤติกรรม
-การประมวลผลเบื้องต้นและแนวทางแนะนำ 4.ค้นหาแกนนำเพิ่มเติม  จำนวน 10 คน 5.สรุปกิจกรรม/ตอบคำถาม/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 6.ทำแบบประเมิน/ปิดโครงการ/ถ่ายภาพร่วมกัน

1.ค่าวิทยากร       เป็นเงิน  3,600 บ.

-วิทยากรบรรยาย 1 คน  จำนวน 3 ชม. ๆ ละ  600 บาท    เป็นเงิน  1,800 บ.

-วิทยากรกลุ่ม  จำนวน  2 ชม. ๆ ละ 300 บาท จำนวน  3 คน    เป็นเงิน  1,800 บ.

2.ค่าอาหารว่าง 35  บาท  50 คน  ๆ ละ 2 มื้อ            เป็นเงิน  3,500 บ.

  1. ค่าอาหารกลางวัน 70 บ. 50 คนเป็นเงิน 3,500 บ.

4.ค่าวัสดุปากกา สมุด  แฟ้ม  ชุดละ  35 บ. จำนวน  45 ชุด  เป็นเงิน 1,575 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
23 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้กับเด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องสุขภาพจิตและยาเสพติดเพิ่มขึ้น

2 เด็กและเยาวชนมีทักษะชีวิตที่ดีขึ้น ลดพฤติกรรมความเสี่ยงการติดยาให้น้อยลง

3มีเครือข่ายเยาวชน To Be Number One ที่เข้มแข็ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12175.00

กิจกรรมที่ 4 อบรมพัฒนาแกนนำ “แกนนำรุ่นใหม่ จิตใจสดใสห่างไกลยาเสพติด”

ชื่อกิจกรรม
อบรมพัฒนาแกนนำ “แกนนำรุ่นใหม่ จิตใจสดใสห่างไกลยาเสพติด”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมครั้งที่  4  อบรมพัฒนาแกนนำ “แกนนำรุ่นใหม่ จิตใจสดใสห่างไกลยาเสพติด” (กลุ่มเป้าหมาย แกนนำเดิม 15 คน  แกนนำใหม่ 30 คน คณะทำงาน 5 คน  รวม  50  คน) 1.กิจกรรมเวิร์กชอป -ทักษะการเป็นผู้นำและการสื่อสาร เพื่อป้องกัน เรื่องของสุขภาพจิตและยาเสพติดของเด็กและเยาวชน -สร้างแผนกิจกรรมรณรงค์ในโรงเรียนเกี่ยวกับยาเสพติด 2.กิจกรรมจำลองสถานการณ์ -เมื่อเพื่อนเสี่ยงต่อปัญหา +3.รับฟังและสะท้อนประสบการณ์ร่วมกัน 4. ปิดโครงการ/ถ่ายภาพร่วมกัน 1.ค่าวิทยากร       เป็นเงิน   3,600 บ. -วิทยากรเวิร์กชอป  จำนวน  4 ชม. ๆ ละ 300 บาท จำนวน  3 คน
2.ค่าอาหารว่าง 35  บาท  50 คน  ๆ ละ 2 มื้อ            เป็นเงิน  3,500 บ.
3. ค่าอาหารกลางวัน 70 บ. 50 คนเป็นเงิน 3,500 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
23 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้กับเด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องสุขภาพจิตและยาเสพติดเพิ่มขึ้น

2 เด็กและเยาวชนมีทักษะชีวิตที่ดีขึ้น ลดพฤติกรรมความเสี่ยงการติดยาให้น้อยลง

3มีเครือข่ายเยาวชน To Be Number One ที่เข้มแข็ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 50,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้กับเด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องสุขภาพจิตและยาเสพติดเพิ่มขึ้น

2 เด็กและเยาวชนมีทักษะชีวิตที่ดีขึ้น ลดพฤติกรรมความเสี่ยงการติดยาให้น้อยลง

3มีเครือข่ายเยาวชน To Be Number One ที่เข้มแข็ง


>