กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หน้าถ้ำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการไพลไทย คลายปวด รักษ์ภูมิปัญญา ปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หน้าถ้ำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 14/07/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ไพลไทย คลายปวด รักษ์ภูมิปัญญา

ชื่อกิจกรรม
ไพลไทย คลายปวด รักษ์ภูมิปัญญา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติ
                    2. จัดเตรียมข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย            3. จัดเตรียมความพร้อมด้านสถานที่สำหรับการอบรม
                    4. ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
                    5. จัดกิจกรรมการทำยาหม่องไพลแก่ชาวบ้านและ อสม.
  2. สรุปและรายงานผลโครงการ         6.1 รายงานผลโครงการให้ผู้บริหาร และคณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ           กิจกรรม
  3. บรรยายเกี่ยวกับสรรพคุณของไพลที่เป็นสมุนไพรหลักในยาหม่อง
  4. สาธิตและลงมือทำยาหม่องไพลร่วมกัน
  5. บรรจุยาหม่องลงในบรรจุภัณฑ์และติดฉลาก
  6. แนะนำการต่อยอดและพัฒนารายได้จากผลิตภัณฑ์
    ค่าวัสดุอุปกรณ์การผลิต ประกอบด้วย

-  ไพลสด 2 กิโลกรัม                                                          เป็นเงิน    180   บาท -  เมนทอล 100 กรัม                                                          เป็นเงิน    140   บาท -  พิมเสน 100 กรัม                                                            เป็นเงิน    140   บาท -  การบูร 200 กรัม                                                            เป็นเงิน    74     บาท -  พาราฟินหรือเทียนไขขาว 200 กรัม                                      เป็นเงิน     76    บาท -  น้ำมันกานพลู 60 มิลลิลิตร                                                เป็นเงิน     170  บาท -  น้ำมันยูคาลิปตัส 60 มิลลิลิตร                                             เป็นเงิน     160  บาท -  น้ำมันอบเชย 30 มิลลิลิตร                                                 เป็นเงิน     165   บาท -  น้ำมันระกำ 200 ml                                                        เป็นเงิน     200   บาท -  น้ำมันมะพร้าว 1,000 มิลลิลิตร                                           เป็นเงิน     700   บาท

                                                                                 …../ผ้าขาวบาง

  • ผ้าขาวบาง 2 เมตร                                                          เป็นเงิน     80    บาท
  • ถ้วยตวงสแตนเลส ขนาด 1,000 มิลลิลิตร                               เป็นเงิน     310   บาท
  • ถ้วยตวงพลาสติกขนาด 100 มิลลิลิตร                                   เป็นเงิน     19     บาท
  • ขวดบรรจุภัณฑ์ ขนาด 50 กรัม                                           เป็นเงิน     300   บาท
  • ฉลาก                                                                         เป็นเงิน      60    บาท
  • ค่าเปลี่ยนแก๊ส                                                               เป็นเงิน    395    บาท

รวมเป็นเงิน 3,169 บาท

  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 30 คน X 35  บาท x 2 มื้อ           เป็นเงิน   2,100   บาท

  3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  30 คน X 60  บาท                              เป็นเงิน   1,800   บาท     4. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน x 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท             เป็นเงิน   1,800   บาท   6. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 180 x 80 ซม.      เป็นเงิน     500   บาท

                                รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 9,369 บาท (เก้าพันสามร้อยหกสิบเก้าบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
14 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้และทักษะในการผลิตยาหม่องไพล
  2. ชุมชนมีผลิตภัณฑ์สมุนไพรใช้เอง ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
  3. เกิดความร่วมมือและความสามัคคีในชุมชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9369.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,369.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้และทักษะในการผลิตยาหม่องไพล
2. ชุมชนมีผลิตภัณฑ์สมุนไพรใช้เอง ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
3. เกิดความร่วมมือและความสามัคคีในชุมชน


>