กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลายต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

โรงพยาบาลทุ่งหว้า

กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลทุ่งหว้า

โรงพยาบาลทุ่งหว้า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้นักเรียน จำนวน 100 คน มีความรู้ความเข้าใจโรคไข้เลือดออก และป้องกัน/ควบคุมโรคที่ถูกวิธีและเหมาะสม

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ โรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ควบคุมโรคไข้เลือดออก ที่ถูกวิธีและเหมาะสมร้อยละ 80

0.00
2 2.เพื่อให้นักเรียน จำนวน 100 คน มีกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายที่โรงเรียน บ้าน และชุมชนของนักเรียน

โรงเรียน จำนวน 3 โรงเรียน ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

0.00
3 3.เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน

โรงเรียนมีค่า CI เท่ากับ 0

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 28/02/2018

กำหนดเสร็จ 28/02/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลายต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561

ชื่อกิจกรรม
โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลายต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลายต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561 ไอ้อนุมัติงบประมาณ จำนวน 19,770.-บาท 1.ค่าอาหารกลางวันของผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน ๆละ 50.-บาท เป็นเงิน 5,000.-บาท 2.ค่าอาหรว่าง (เช้า) ของผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน ๆละ 25.-บาท เป็นเงิน 2,500.-บาท 3.ค่าอาหารว่าง (บ่าย) ของผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คนๆ 25.-บาท เป็นเงิน 2,500.-บาท 4.ป้ายไวนิลโครงการ 1.20X2.40 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500.-บาท 5.ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสาร -แบบประเมินผลโครงการ จำนวน 100 คน ๆละ 0.5 บาท เป็นเงิน 50.-บาท - แบบทดสอบก่อนเข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน ๆละ 0.5 บาท เป็นเงิน 50.-บาท -แบบทดสอบหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คน ๆละ 0.5 บาท เป็นเงิน 50.-บาท 6.ค่าสมนาคุณวิทยากร -อบรมให้ความรู้ จำนวน 6ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800.-บาท 7.ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม - สมุด ปากกา แฟ้ม จำนวน 100 ชุด ๆละ 30 บาท เป็นเงิน 3,000.-บาท - ปากกาเคมี จำนวน 10 ด้าม ๆละ 20.-บาท เป็นเงิน 200.-บาท - การะดาษ บรู๊ฟ จำนวน 2 โหล ๆละ 60บาท เป็นเงิน 120.-บาท - สมุดคู่มือรณรงค์ปราบลูกน้ำยุงลาย จำนวน 100 เล่ม ๆละ 20.-บาท เป็นเงิน 2,000.-บาท 8.ค่าวัสดุใช้สอย (รางวัลในการตอบคำถาม) เป็นเงิน 2,000.-บาท รวมค่าใช้จ่าย 19,770.-บาท ทุกรายการถั่วเฉลี่ยได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กนักเรียนจำนวน 100 คน มีความรู้ความเข้าใจโรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ควบคุมโรคที่ถูกวิธีและเหมาะสม มีกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19770.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,770.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนตระหนัก มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย จนเป็นกิจวัตรที่บ้าน โรงเรียน และชุมชน
2.นักเรียนสามารถประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกัน ควบคุมโรคโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุ
3.โรงเรียน บ้านและชุมชนของนักเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย
4.ลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน บ้าน ชุมชน


>