กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละแอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละแอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,754
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วม

ชื่อกิจกรรม
โครงการแก้ปัญหาสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดทำโครงการ/ขออนุมัติโครงการจากคณะกรรมการกองทุนหลักประกันฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ได้ 2.วิเคราะห์สถานการณ์และแจ้งเตือน/ เตรียมความพร้อมด้านต่างๆ
  2. จีดทีมเยี่ยมสำรวจสภาพปัญหาประชาชนในพื้นที่ทุกครัวเรือนร่วมกับทีมงานอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ เน้นเยี่ยมกลุ่มยากไร้ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยพิการ
  3. รายงานข้อมูลสภาพปัญหาให้ อบต.ละแอ , สสอ.ยะหา และจัดทำแผนดูแล / ช่วยเหลือกลุ่มยากไร้ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยสุขภาพจิตในช่วงเกิดอุทกภัย 5.เยี่ยมผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลโดยทีม จนท.สส. / อบต. / อสม. / ผู้นำชุมชน 6.จัดหายา/เวชภัณฑ์ ที่จำเป็นเพื่อจัดบริการในชุมชนช่วงอุทกภัย ได้แก่ ยาสามัยประจำบ้าน ครัวเรือนละ 1 ชุด ยาที่จำเป็นเพื่อการรักษา/ป้องกันโรค เช่น ยาทารักษาน้ำกัดเท้า รองเท้าบู๊ท
    7.จัดทีมคัดกรองภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยง 8.สำรวจบ่อน้ำที่ถูกน้ำท่วม และลงพื้นที่ใส่คลอรีน สารส้ม พร้อมให้คำแนะนำการจัดระบบสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมหลังน้ำลด 9.สรุปและประเมินผลกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

สามารถแก้ปัญหากรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติฉุกเฉินได้ทันท่วงทีและทั่วถึง


>