กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สวี รหัส กปท. L1145

อำเภอสวี จังหวัดชุมพร

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ตำบลปากแพรก อำเภอสวี จังหวัดชุมพร ปีงบประมาณ 2561
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแพรก
3.
หลักการและเหตุผล

โรคอ้วนลงพุง หรือ Metabolic syndrome เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากการเผาพลาญที่ผิดปกติทำให้มีไขมันสะสมในช่องท้องเป็นปริมาณมากเกิดเป็น ภาวะอ้วนลงพุง ซึ่่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคความดันสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โดยรอบเอวที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 5 เซ็นติเมตร จะเพิมโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานสูง 3 หรือ 5 เท่า เป็นกลุ่มโรคเรื่้อรังที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและส่งผลกระทบทั่วโลก ปั่นทอนสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชาชน ทำให้รัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาอาการแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคอ้วนลงพุง หรือ Metabolic syndrome เป็นเงินจำนวนมาก จากผลการสำรวจขององค์การอนามัยโลกพบว่าในปี พ.ศ.2548 จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าวเพิ่มมากขึ้นร้อยละ 17 หรือประมาณ 41 ล้านคน สำหรับในประเทศไทยจากข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนกงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในปี 2552 พบว่าอัตราการป่วยด้วยโรคกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมองและโรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2550 ของโรคหัวใจขาดเลือดพบอัตราป่วยเพิ่มขึ้น 33.44 ต่อประชากรหนึ่งแสนคนหรือร้อยละ 10.53 ส่วนโรคเบาหวานพบอัตราป่วยเพิ่มขึ้น 86.08 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน หรือร้อยลุ 13.23
สำหรับผลการตรวจคัดกรองโรค ของประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปในตำบลปากแพรก พบภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 10.29 พบกลุ่มภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานร้อยละ 1.40 นอกจากนั้นยังพบว่าภาวะเสี่ยงที่มีภาวะรอบเอวเกินจำนวนร้อยละ 40.20 และ BMI เกินค่ามาตรฐาน ร้อยละ 18.89 ซึ่งกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยที่เกิดจากวิถีชีวิต ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันที่เพิ่มมากขึ้นอย่างเร็ว ทำให้ค่านิยม วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป มีพฤติกรรมเสี่ยงที่ไม่ถูกต้อง นิยมบริโภคอาหารนอกบ้าน อาหารประเภทฟาสต์ฟู้ด อาหารสำเร็จรูป การบริโภคอาหารที่ไม่ได้สัดส่วน รับประทานอาหารที่มีรสหวาน รสเค็ม อาหารที่มีไขมันสูง บริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ มากเกินไป ขาดการออกกำลังกาย มีความเครียดเรื้องรังซึ่งปัจจัยเหล่านี้เป็นสาเหตุหนึ่งของโรคดังกล่าว จากสถาการณ์ข้างต้น จึงเป็นเรื่องด่วนอย่างยิ่งที่หน่วยงานสาธารณสุขร่วมกับ หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนต้องสร้างความเข้มแข็งและร่วมมือในการรณรงค์ทำการส่งเสริมและป้องกันภัยร้ายจากกลุ่มโรค (Metabolic syndrome) ครอบคลุมในทุกกลุ่มประชากร เนื่องจากโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเหมาะกับวัยและวิถีชีวิต ร่วมกับการกินผักลดอาหารประเภทแป้งไขมัน การดำเนินชีวิตที่ถูกต้องตามรอยวิถีชีวิตไทยในอดีตจะช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงจากโรคเหล่านี้ได้ โดยเฉพาะประชาชนกลุ่มอายุมากกว่า 35 ปี ที่ยังไม่ป่วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแพรก ได้เห็นความสำคัญของการดำเนินงานเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อไม่เรื้อรัง ที่มุ่งหวังให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักสามารถดูแลสุขภาพและจัดการสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปี 2561

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค Metabolic syndrome
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค Metabolic syndrome
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 50.00
  • 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับค่าปกติดัชนีมวลกาย สามารถคำนวณดัชนีมวลกายและวัดรอบเอวได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับค่าปกติดัชนีมวลกาย สามารถคำนวณดัชนีมวลกายและวัดรอบเอวได้อย่างถูกต้อง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 50.00
  • 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการเลือกรับประทานอาหารตามหมวดหมู่ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และสามารถบอกปริมาณอาหารที่เหมาะสมกับตนเองได้ รวมทั้งสามารถวางแผนการกินเพื่อควบคุมน้ำหนักในให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการเลือกรับประทานอาหารตามหมวดหมู่ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และสามารถบอกปริมาณอาหารที่เหมาะสมกับตนเองได้ รวมทั้งสามารถวางแผนการกินเพื่อควบคุมน้ำหนักในให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 50.00
  • 4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้องและสามารถประยุกต์วิธีการออกกำลังกายได้เหมาะสมกับวิถีชีวิตของตนเองได้
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้องและสามารถประยุกต์วิธีการออกกำลังกายได้เหมาะสมกับวิถีชีวิตของตนเองได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 50.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดให้มีการอบรมเชิงปฏิบัติการ แก่กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมกิจกรรมเรื่องโรค Metabolic syndrome (การเกิดโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด ไขมันสูง)
    รายละเอียด
    1. ค่าอาหารกลางวัน วันละ 1 มื้อๆ ละ 60 บาท และอาหารว่างวันละ 2 มื้อๆ ละ 30 บาท ในการอบรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 12,000 บาท
    2. ค่าสมนาคุณวิทยากร ชม.ละ 600 บาท วันละ 6 ชม.จำนวน 2 วัน จำนวน 7,200 บาท
    งบประมาณ 19,200.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

8.
สถานที่ดำเนินการ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 19,200.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค Metabolic syndrome
  2. กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
  3. มีผู้ป่วยโรคMetabolic syndrome ลดลง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สวี รหัส กปท. L1145

อำเภอสวี จังหวัดชุมพร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.สวี
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สวี รหัส กปท. L1145

อำเภอสวี จังหวัดชุมพร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 19,200.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................