กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี รหัส กปท. L7884

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการที่นอนน้ำสำหรับผู้ป่วยติดเตียง
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสาธารณสุข ปัญหาส่วนใหญ่พบว่ามีผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มขึ้นจากภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังจากรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ได้ระบุถึงสาเหตุสำคัญของผู้ป่วยในได้แก่โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคโลหิตจางจากไขกระดูกฝ่อ ไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุจากอุบัติเหตุจราจรพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทยที่กำลังเคลื่อนเข้าสู่“สังคมผู้สูงอายุ”ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสื่อมของร่างกาย ที่เป็นไปตามอายุทำให้พบความเจ็บป่วยเรื้อรังได้มากขึ้นทั้งนี้พบผู้สูงอายุในไทยในสัดส่วนที่สูงขึ้น ภายในปี พ.ศ. 2568ประเทศไทยจะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์(Aged society )ผู้สูงอายุ 21% เป็นผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียงก่อให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อนทำให้มีผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มขึ้นตามลำดับซึ่งเมื่อผู้ป่วยต้องนอนอยู่กับที่นาน ๆ ไม่มีการเคลื่อนไหวการกดทับโดยน้ำหนักตัวเป็นเวลานาน ๆ ทำให้เกิดการตีบของหลอดเลือดฝอยและหลอดเลือดแดงเล็กๆ ทำให้เซลล์ขาดเลือดไปเลี้ยงและได้รับอาหารไม่เพียงพอรวมทั้งไม่สามารถขับของเสียออกไปได้จึงทำให้เกิดการตายของเซลล์ เกิดเป็นแผลกดทับซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยการเกิดแผลกดทับทำให้ผู้ป่วยต้องได้รับความทุกข์ทรมานมากขึ้นและส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นจากการดูแลรักษาเป็นภาระของครอบครัวมากขึ้นและเมื่อเป็นแผลกดทับเรื้อรังระดับ 3 – 4 อาจทำให้เกิดการติดเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด เป็นเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
การใช้อุปกรณ์เพื่อช่วยป้องกันแผลกดทับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่นิยมใช้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการลดและกระจายแรงกดบริเวณพื้นผิวสัมผัสระหว่างผิวหนังของผู้ป่วยกับพื้นที่ผิวที่รองรับน้ำหนักโดยเฉพาะบริเวณปุ่มกระดูกได้แก่สะโพกก้นกบสะบักหลังตาตุ่มและส้นเท้า ปัจจุบันมีความพยายามออกแบบวัสดุรองรับเพื่อป้องกันและลดความรุนแรงของแผลกดทับสำหรับผู้ป่วยหลากหลายประเภทอาทิเช่นที่นอนลม ที่นอนเจล ที่นอนระบบไฟฟ้า ซึ่งมีราคาสูง จากการศึกษาข้อมูลผลงานวิจัยต่างๆพบว่าที่นอนที่ดีที่สุดสำหรับผู้ป่วยคือที่นอนน้ำ แต่สาเหตุที่ไม่ได้รับความนิยมเนื่องจากการพัฒนายังไม่ชัดเจนมาก และมีราคาแพงมากทำให้เกิดแนวคิดในการสร้างที่นอนน้ำสำหรับผู้ป่วยติดเตียงทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยการใช้วัสดุทำจากยางพาราบรรจุน้ำ ซึ่งยางพารามีคุณสมบัติในการยืดขยายได้ดี ทนทานต่อการกดทับ เมื่อถุงยางพาราบรรจุน้ำถุงใดถุงหนึ่งเกิดชำรุดที่นอนน้ำก็ยังคงมีประสิทธิภาพในการรับแรงกดทับเนื่องจากถุงยางพาราด้านข้างทั้ง2ด้านจะขยายพื้นที่มาช่วยพยุงและรับน้ำหนักชั่วคราว ระหว่างรอการซ่อมหรือเปลี่ยนถุงยางพาราถุงใหม่การเปลี่ยนถุงบรรจุน้ำสามารถทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วโดยการเปลี่ยนเฉพาะถุงบรรจุน้ำที่ชำรุด

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อลดการเกิดแผลกดทับที่บ้านรายใหม่
    ตัวชี้วัด : 1.การเกิดแผลกดทับที่บ้านรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 5
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2.เพื่อลดความรุนแรงของแผลกดทับที่ผู้ป่วยเป็นอยู่เดิม
    ตัวชี้วัด : 2.ระดับความรุนแรงของแผลกดทับลดระดับลงร้อยละ 5
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. 3. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
    ตัวชี้วัด : 3.ญาติมีความพึงพอใจร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการที่นอนน้ำสำหรับผู้ป่วยตืดเตียง
    รายละเอียด
    1. ประชุมคณะทำงานการพยาบาลชุมชน
    2. สำรวจกลุ่มผู้ป่วยที่ติดเตียง  ที่จำเป็นต้องใช้
    3. ทดลองใช้ / ประเมินผล
    งบประมาณ 100,800.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

8.
สถานที่ดำเนินการ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 100,800.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. การเกิดแผลกดทับที่บ้านรายใหม่ไม่เกินร้อยละ5
    1. ระดับความรุนแรงของแผลกดทับลดลงร้อยละ 5
    2. ผู้รับบริการและญาติมีความพึงพอใจร้อยละ80
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี รหัส กปท. L7884

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี รหัส กปท. L7884

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 100,800.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................