กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมรัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการกิจกรรมเคลื่อนไหว ลดปัญหาทุพโภชนาการโรงเรียนบ้านโป่งวัวแดง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมรัง

โรงเรียนบ้านโป่งวัวแดง

โรงเรียนบ้านโป่งวัวแดง หมู่ที่ 4 ตำบลแหลมรัง อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

65.00
2 ร้อยละของกิจกรรมในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

 

80.00

จากการตรวจสุขภาพนักเรียน พบว่านักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งวัวแดงมีปัญหาภาวะโภชนาการ ดังนี้
1.พบเด็กมีภาวะเริ่มอ้วน + อ้วนร้อยละ 12.31
2.พบเด็กมีภาวะผอมร้อยละ 9.62
3.พบเด็กมีภาวะเตี้ยร้อยละ 1.92
4.พบเด็กมีภาวะสมส่วนร้อยละ 56.92
ซึ่งมากกว่าเกณฑ์ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ที่นักเรียนต้องมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน น้อยกว่าร้อยละ 10 %

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง ภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน) เตี้ย ผอม

นักเรียนและครูมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ เตี้ย ผอม

80.00
2 2. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีปริมาณเหมาะสมกับร่างกาย

นักเรียนมีทักษะในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีปริมาณเหมาะสมกับร่างกาย

80.00
3 3. เพื่อให้คณะครูและนักเรียนมีส่วนร่วม ในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ และป้องกันโรคอ้วนในวัยเด็ก

คณะครูและนักเรียนมีการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ และป้องกันโรคอ้วนในวัยเด็ก

80.00
4 4. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ เตี้ย ผอม

ลดภาระการดูแลรักษานักเรียนในห้องพยาบาลโรงเรียน

30.00
5 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

65.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 192
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2017

กำหนดเสร็จ 30/10/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
1. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค้นหากลุ่มเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการเกินเกณฑ์ เตี้ย ผอม
  2. ประชุมปรึกษาหารือ วิเคราะห์ปัญหา และการจัดทำโครงการ เพือจัดทำโครงการ
  3. นำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  4. ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. มีเครือข่ายการดำเนินงาน
  2. มีข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย และวิเคราะห์ปัญหา เพื่อหาแนวทางแก้ไข
  3. มีการจัดทำโครงการกิจกรรมเคลื่อนไหว ลดปัญหาทุพโภชนาการ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2. อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
2. อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมให้ความรู้กับนักเรียน คณะครูและผู้ปกครอง ในแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ( งบประมาณค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการ (กว้าง 1.2 เมตร ยาว 2.4 เมตร) จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 500 บาท/ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม เป็นเงิน 11,020 บาท /ค่าอาหารว่าง จำนวน 212 คน มื้อละ 40 บาท 1 วันเป็นเงิน 8,480 บาท )
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียน ครู ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องภาวะทุพโภชนาการ และสามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับร่างกาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

กิจกรรมที่ 3 3.กิจกรรมเคลื่อนไหวทางกาย

ชื่อกิจกรรม
3.กิจกรรมเคลื่อนไหวทางกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายกิจกรรมเข้าจังหวะ ทุกวัน ให้กับนักเรียนและคณะครู 212 คน ควบคุู่ไปกับการเพิ่มผักผลไม้ในอาหารแต่ละวัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายควบคุู่ไปกับการเพิ่มผักผลไม้ในอาหารแต่ละวัน ในเด็กที่มีทุพภาวะโภชนาการ วันละ 1 ครั้ง /1 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 ประเมินผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประเมินผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.คัดกรองภาวะโภชนาการนักเรียน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.พบนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน น้อยกว่าร้อยละ 10 %

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง ภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน) เตี้ย ผอม
2. นักเรียนมีทักษะในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีปริมาณเหมาะสมกับร่างกาย
3. คณะครูและนักเรียนมีส่วนร่วม ในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ และป้องกันโรคอ้วนในวัยเด็ก
4. ลดจำนวนนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนาการน้ำหนักเกินเกณฑ์ เตี้ย ผอม


>