กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คำด้วง รหัส กปท. L6374

อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเฝ้าระวังโรคขาดสารไอโอดีนแบบบูรณาการ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคำด้วง
กลุ่มคน
1. นางกุหลาบ สิงห์วงษ์
3.
หลักการและเหตุผล

กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข ต้องการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชนจากผลการสำรวจปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์และความครอบคลุมกลือไอโอดีนที่มาตรฐานระดับครัวเรือนเมื่อเทียบกับเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลกยังอยู่ระดับที่ไม่น่าไว้วางใจโรคขาดสารไอโอดีนเป็นปัญหาสาธารณสุขทางด้านโภชนาการที่สำคัญเป็นต้นเหตุที่พบมากที่สุดของภาวะปัญญาอ่อนซึ่งเป้องกันได้พบได้ในทุกกลุ่มอายุแต่ละมีผลร้ายแรงชัดเจนในทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนอายุ2-3 ปีโดยมีผลลดความเฉลียวฉลาดหรือไอคิวของเด็กได้ถึง10-15 จุดซึ่งจะมีผลกระทบต่อการพัมนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยปกติร่างกายต้องการสารไอโอดีนทุกวันวัละ100-150ไมโครกรัมจากผลการตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนทารกแรกเกิดรพ.สต.คำด้วง(ตุลาคม2559 - กันยายน2560)มีทารกแรกเกิดอายุ 2 วันขึ้นไปจำนวน 41 คนพบระดับฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ฮอร์โมน(TSH)ในทารกแรกเกิดอายุ2วันขึ้นไปมีค่ามากกว่า11.25มิลลิยูนิต/ลิตรจำนวน2คนคิดเป็นร้อยละ4.88ถือว่าเด็กในเขตรับผิดชอบรพ.สต.คำด้วงเป็นพื้นที่ขาดสารไอโอดีน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับสารไอโอดีนให้เพียงพอต่อร่างกาย
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการเฝ้าระวังโรคขาดสารไอโอดีนแบบบูรณาการ
    รายละเอียด

    วิธีดำเนินการ กิจกรรมหลัก - ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนบริโภคอาหารที่มีสารไอโอดีน  เช่น  อาหารทะเล  น้ำปลาเสริมไอโอดีน  เกลือเสริมไอโอดีน  ผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน  ฯลฯ - กระจายเกลือไอโอดีนและสร้างกระแส การบริโภคอาหารที่มีสารไอโอดีนในสถานศึกษา - ตรวจสอบมาตรฐานเกลือไอโอดีน  ในครัวเรือน  ร้านค้า  ร้านอาหาร สถานศึกษา  โดยแบบสำรวจอย่างง่าย และการใช้  I - kit - อบรม  อสม.  สู่ความเป็นทูตไอโอดีน - การรณรงค์  ประชุมชี้แจงผ่านสื่อบุคคล  สื่อระดับต่างๆในชุมชน - ร่วมขับเคลื่อน ชุมชน  / หมู่บ้านทุกแห่งเป็นหมู่บ้านไอโอดีน / ตำบลไอโอดีน ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. ทบทวนแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของชุมชน 2. ประชาคมชุมชนเพื่อรับทราบข้อเสนอแนะ / แนวทางการบริโภคอาหารที่มีสารไอโอดีน  และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเกลือเสริมไอโอดีน 3. ประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนเล็งเห็นความสำคัญในการบริโภคอาหารที่มีสารไอโอดีนให้ทั่วถึง 4. ประชุมกำหนดแนวทางดำเนินงานผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ  ได้แก่  อปท./ผู้นำชุมชน/อสม./ครู/ชุมชน 5. จัดตั้งคณะกรรมการ การดำเนินงานหมู่บ้านไอโอดีน 6. ประชุมคณะกรรมการ  เพื่อจัดทำนโยบาย  และมาตรการควบคุมป้องกันโรขาดสารไอโอดีนในหมู่บ้าน 7. จัดทำโครงการ/แผนการดำเนินงาน

    งบประมาณ 12,190.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลคำด้วง จำนวน6หมู่บ้าน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 12,190.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนได้รับเกลือเสริมไอโอดีนเพื่อปรุงอาหารบริโภคทุกคนทุกหลังคาเรือน
  2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
  3. ประชาชนทุกกลุ่ม ได้รับสารไอโอดีนที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างายไม่เป็นโรคขาดสารไอโอดีน
  4. สถานศึกษา และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนในการประกอบอาหารกลางวัน
  5. ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพและสร้างความเข้มแข็งในชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
  6. เด็ก 0 - 6 ปีได้รับการส่งเสริมไอโอดีนให้มีการพัฒนาการสมวัย
  7. ตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีนทุกรายตลอดการตั้งครรภ์และหลังคลอด
  8. สถานบริการมีกองทุนเพื่อจำหน่ายเกลือไอโอดีน
  9. เกิดกระแสการบริโภคสารอาหารที่มีไอโอดีนในชุมชนอย่างยั่งยืน
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คำด้วง รหัส กปท. L6374

อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.คำด้วง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คำด้วง รหัส กปท. L6374

อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 12,190.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................