กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมพื้นที่ตำบลแค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค

มัสยิดมะวาย์

มัสยิดมะวาย์ หมู่ที่ 2 ตำบลแค อำเภอจะนะจังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนเพศชายในพื้นที่ตำบลแค ได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายทุกคน
2.เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดต่อ

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 24/04/2018

กำหนดเสร็จ 24/04/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพหลังจากขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อป้องกันโรคติดต่อและการติดเชื้อ

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพหลังจากขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อป้องกันโรคติดต่อและการติดเชื้อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ความรู้โดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ที่มีความรู้ความเชียวชาญทางด้านโรคติดต่อหรือการป้องกันโรคติดเชื้อ จำนวน 2 ชั่วโมง เป็นเงิน 1200 บาท ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 20 คน ๆละ30 บาท เป็นเงิน 600 บาท ค่าป้ายไวนิลจำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองและเด็กที่เข้ารับการขลิบปลายอวัยวะเพศชายได้รับความรู้ที่ถูกต้องด้านโรคติดต่อหรือป้องกันการติดเชื้อหลังจากการขลิบปลายฯและปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2100.00

กิจกรรมที่ 2 การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย

ชื่อกิจกรรม
การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่ายาชา คนละ  100 บาท จำนวน 10 คน เป็นเงิน 1000 บาท 2.ค่าถุงมือ(sterile) คนละ 10 บาท จำนวน 10 คน เป็นเงิน 100 บาท 3.ค่าเข็ม (syring) คนละ  10 บาท จำนวน  10 คนเป็นเงิน  100 บาท 4.ค่าไหม คนละ  150 บาทจำนวน 10 คนเป็นเงิน  1500 บาท 5.ค่าSet sterile  คนละ  25 บาท จำนวน 10 คนเป็นเงิน  250 บาท 6.ค่า Batadine 30 cc คนละ  25 บาท จำนวน 10 คนเป็นเงิน 250 บาท 7.ค่าElasitix คนละ  20 บาท จำนวน 10 คนเป็นเงิน 200 บาท 8.ค่า Bactigras  คนละ  25 บาท จำนวน 10 คนเป็นเงิน  250 บาท 9.ค่าGauze  2 ซอง คนละ  25 บาท จำนวน 10 คนเป็นเงิน 250 บาท 10.ค่าใบมีด คนละ 10 บาท จำนวน 10 คนเป็นเงิน  100 บาท 11.ค่าหัตถการ  คนละ 400 บาท จำนวน 10 คน เป็นเงิน 4000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กจำนวน  10 คนได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายอย่างถูกต้องตามหลักการแพทย์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เด็กและเยาวชนมุสลิมในพื้นที่ตำบลแคได้รับการทำสุนัต(ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย)สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด(Bleeding)ภาวะแทรกซ้อน(การอักเสบรุนแรง)และการติดเชื้อ รวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชน ในการป้องกันโรคติดเชื้อและประชาชนมีความเข้าใจอันดีในการให้ความสำคัญของดูแลรักษาตามหลังการแพทย์


>