กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ องค์การบริหารส่วนตำบล บ้านใหม่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเกษตรกร ปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

องค์การบริหารส่วนตำบล บ้านใหม่

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร

 

5.00
2 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

5.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

5.00 3.00
2 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6  ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

5.00 2.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณะสุข

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณะสุข
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (รพ.สต. และ อสม.) ดำเนินการจัดอบรม ให้ความรู้กับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อนำไปเผยแพร่กับกลุ่มเกษตรกร

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อาสาสมัครสาธารณสุข สามารถถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 2 เจาะเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงสารพิษตกค้าง

ชื่อกิจกรรม
เจาะเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงสารพิษตกค้าง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รณรงค์เจาะเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงเพื่อตรวจวัดปริมาณสารเคมีที่ตกค้างในเลือด

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรที่มีความเสี่ยงได้รับการตรวจเลือด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการปลูกสมุนไพรรางจืด

ชื่อกิจกรรม
สนับสนุนการปลูกสมุนไพรรางจืด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรรางจืดกับเกษตรกร

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรที่ได้รับความรู้ไปแล้วสามารถนำไปปฏิบัติใช้ในครัวเรือนได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

กิจกรรมที่ 4 ติดตามและประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
ติดตามและประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามประเมินผลภายใน 1 เดือน โดยการเจาะเลือดซ้ำในกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มไม่ปลอดภัย

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรมีสารพิษตกค้างในเลือดลดลง และสุขภาพดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เกษตรกรได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและทราบถึงอันตรายจากการใช้สารเคมีในการทำเกษตรกรรม
เกษตรกรได้รับคำปรึกษาและสามารถนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการดำเนินขีวิตประจำวัน
เกษตรกรกลุ่มที่มีความเสี่ยงได้รับการเจาะตรวจเลือด
เกษตรกรที่มีสารพิษตกค้างในเลือดเกินเกณฑ์มาตรฐานลดลง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


>