กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ องค์การบริหารส่วนตำบล ปริก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมปลูกกินพืชผักเป็นยา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

องค์การบริหารส่วนตำบล ปริก

กองสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนตำบลปริก

พื้นที่ในเขตรับผิดชอบของ อบตปริก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในปัจจุบันประชาชนรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนด้วยสารพิษไม่ว่าจะเป็นพืชผักต่างๆ ที่ต้องซื้อจากท้องตลาด ซึ่งทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ และเมื่อเจ็บไข้ได้ป่วยจะซื้อยาต่างๆกินเองโดยเฉพาะยาปฎิชีวนะส่งผลให้เกิดการดื้อยา และเกิดอันตรายอื่นๆแก่สุขภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข ได้มีความรู้ในการปลูกพืชผักต่างๆให้ปลอดภัยไร้สารพิษปนเปื้อนและกินพืชผักต่างๆเป็นยาสมุนไพรแทนการกินยาปฎิชีวนะลดความเสี่ยงการดื้อยา

อาสาสมัครสาธารณสุขได้เข้าร่วมโครงการและแบบอย่างและแนะนำให้ครัวเรือนที่อยู่ในความรับผิดชอบได้มีความรู้ในการปลุกพืชผักปลอดภัยและเป็นยาสมุนไพรป้องกันและรักษาโรค

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/05/2018

กำหนดเสร็จ 09/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมและให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมและให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้ จำนวน 2 วัน วันแรก ให้ความรู้ในการปลุกผักอินทรีย์ และการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ -ค่าอาหาร 10050 เท่ากับ 5,000 -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเช้า 10025 เท่ากับ2,500 -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มบ่าย 100*25 เท่ากับ 2,500 -ค่าวัสดุและอุปกรณ์ใ นการทำปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพ (แบ่งกลุ่ม) 3,000 -ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ600 บาท หกชั่วโมง 3,600 -ค่าป้ายโครงการ 500 -ค่าสมุดปากกา 100 คน คนละ20 บาท 2,000

อบรมวันที่ 2 ให้ความรู้เกี่ยวกับการกินพืชผักเป็นยาสมุนไพร -ค่าอาหารกลางวัน 10050 เท่ากับ 5000 -ค่าอาหารว่างและกลางวัน เช้า 10025 เท่ากับ 2500 -ค่าอาหารว่างและกลางวัน บ่าย 100*25 เท่ากับ 2500 -ค่าตอบแทนวิทยาการ ชั่วโมงละ600บาทชั่วโมง 3,600

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู่้ที่เข้าร่วมอบรมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่อบรมและนำไปปฎิบัติและเผยแพร่ความรู้ได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19100.00

กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าวัสดุในการทำปุ๋ยหมัก
มูลไก่ จำนวน 100 กระสอบ กระสอบละ  30 บาท เป็นเงิน 3000บาท กากน้ำตาลจำนวน 10 แกลอน  แกลอนละ400บาท เป็นเงิน 4000 บาท วัสดุอื่นๆแกลบ สัปปะรด เป็นเงิน 3,000 บาท หัวเชื่ออีเอ็ม เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีปุ๋ยหมักจำนวน 100 กระสอบ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15.00

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมครอบครัวอาสาสมัครสาธารณสุขตัวอย่างของแต่ละหมู่บ้านในการเป็นต้นแบบการปลูกพืชผักไร้สารพิษและการใช้พืชผักเป็นยาสมุนไพร

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมครอบครัวอาสาสมัครสาธารณสุขตัวอย่างของแต่ละหมู่บ้านในการเป็นต้นแบบการปลูกพืชผักไร้สารพิษและการใช้พืชผักเป็นยาสมุนไพร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดทำป้ายมอบให้อาสมัครสาธารณสุข จำนวน 11 หมู่บ้าน ป้ายละ 500 บาท จำนวน 11 ป้าย เป็นเงิน 5,500

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีครอบครัวอาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน 11 ครอบครัว ในการเป็นครอบครัวตัวอย่างในการปลูกผักไร้สารพิษและใช้พืชผักเป็นยาสมุนไพร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,120.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

อาสมัครสาธารณสุขเป็นแบบอย่างในการปลูกพืชผักไร้สารพิษ และได้นำความรู้เกี่ยวกับการกินพืชผักเป็นสมุนไพรขยายต่อไปยังครอบครัวที่อยู่ในความรับผิดชอบ


>