กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ตัวอย่าง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

การจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุหมู่บ้านพรุ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล ตัวอย่าง

บัณฑิตอาสาฯ ต.ควนกาหลง

นายมาแอล ด่านเท่งผญบ.
นายอำนวย ชื่นช่วย บัณฑิตอาสาฯ
น.ส. สุนันทา กลับเดชตัวแทนบทบาทสตรี
น.ส.รจนา รอดถม ตัวแทน อสม.
นายสหัสซุ้ยขาว ตัวแทน ชุดชรบ.

หมู่ที่ 5 บ้านพรุ ตำบลควนกาหลง อ.ควนกาหลง จ.สตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานความปลอดภัยทางถนน , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานขยะ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน(คน)

 

30.00
2 จำนวนประชาชนที่สวมหมวกกันน็อกเมื่อขับขี่มอเตอร์ไซต์/คาดเข็มขัดนิรภัย (คน)

 

20.00
3 จำนวนสถานที่เป็นจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน

 

30.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน

จำนวนประชาชนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน(คน)

30.00 20.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนประชาชนที่สวมหมวกกันน็อกเมื่อขับขี่มอเตอร์ไซต์/คาดเข็มขัดนิรภัย

จำนวนประชาชนที่สวมหมวกกันน็อกเมื่อขับขี่มอเตอร์ไซต์/คาดเข็มขัดนิรภัย(คน)

20.00 30.00
3 เพื่อลดสถานที่เป็นจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนลง

จำนวนสถานที่เป็นจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน

30.00 10.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2018

กำหนดเสร็จ 31/12/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมคณะทำงานโครงการ อย่างน้อย 4ครั้ง 1.ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้า พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน 2.สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่1 3.สรุปข้อมูลติดตามครั้งที่ 3 4.ประชุมเพื่อสรุปปลก่รดำเนินงานโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดการวางแผนงานร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัญหา อุปสรรค ความสำเร็จ เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาและขยายผลกิจกรรม 2.เกิดคณะทำงาน ซึ่งมีความรู้ความเข้าใจการดำเนินงานและบทบาทหน้าที่อย่างชัดแจน 4.มีรายงานการประชุม 4 ครั้ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 2 คณะทำงานสำรวจข้อมูลชุมชนและจัดทำแผนชุมชน

ชื่อกิจกรรม
คณะทำงานสำรวจข้อมูลชุมชนและจัดทำแผนชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.รวบรวมข้อมูลอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในชุมชนช่วง 3ปีที่ผ่านมา โเยข้อมูลจากผู้ใหญ่บ้าน โรงพยาบาล รพ.สต. สถานีตำรวจ มาประมวลผล

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ข้อมูลอุบัติเหติเหตุที่เกิดขึ้นในชุมชน ในช่วง3ปีที่ผ่านมา 2.มีแผนที่ชุมชนพร้อมรายละเอียดค่อนข้างชัดเจน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 3 เวทีคืนข้อมูลแก่ชุมชนและวิเคราะห์จุดเสี่ยงอันตรายและออกแบบการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงร่วมกัน

ชื่อกิจกรรม
เวทีคืนข้อมูลแก่ชุมชนและวิเคราะห์จุดเสี่ยงอันตรายและออกแบบการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงร่วมกัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ทำความเข้าใจ คก. ร่วมกับสมาชิกชุมชน รวมถึงคืนข้อมูลอุบัติเหตุในชุมชนที่เกิดขึ้น 2.สมาชิกในชุมชนร่วมกันสร้างแผนที่จุดเสี่ยงจากแผนที่ชุมชน โดยระบุ
-จุดเกิดเหตุที่มีผู้เสียชีวิต -จุดเกิดเหตุที่มีการบาดเจ็บสาหัส -จุดเกิดเหตุที่มีการบาดเจ็บเล็กน้อย และจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ 3.สมาชิกร่วมกันวิเคราะห์จุดเสี่ยง ค้นหาปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ เพื่อทำแผนการการปรับปรุงจุดเสี่ยง

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.จำนวนสมาชิกไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60  ของครัวเรือนเข้าน่วมประชุม 2.จุดเสี่ยงในชุมชนได้รับการวิเคราะห์ 3. จุดเสี่ยงในชุมชนถูกจัดลำดับการแก้ไข 4. มีการตกลงกติกาชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาจุดเสี่ยง 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 4 กาาปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย

ชื่อกิจกรรม
กาาปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ชุมชนช่วยกันปรับปรุงจุดเสี่ยงตามแผนที่จากข้อมูลที่ร่วมกันวิเคราะห์ เช่น 1 ชุมชนปรับปรุงได้เอง
-ติดป้ายเตือนผู้ใช้รถ ป้ายทางแยก ทางโค้ง ป้ายลดความเร็ว
-ตัดแต่งพุมไม้ที่บดบังป้ายโฆษณา หรือป้ายจราจร -ทำความสะอาดผิวถนนหรือทำเครื่องหมายบริเวณ หลุมหรือบ่อ 2.ข้อมูลที่ชุมชนไม่สามารถแก้ไขเองได้ ส่งต่อหน่วยงานเกี่ยวข้องช่วนกันออกแบบแก้ไข เช่น
-การทำวงเวียน แทนสี่แยก -การซ่อมผิวถนน ที่เป็นหลุมเป็นบ่อขนาดใหญ่

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในชุมชนถูกปรับแก้ไข1.ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาในชุมชน จำนวน 30 จุด
2. สมาชิกในชุมชนให้ความร่วมมือช่วนกันแก้ไขจุดเสี่ยงในเบื้องต้น จำนวน 50 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

กิจกรรมที่ 5 จัดเวทีคืนข้อมูล แก่สมาชิกในชุมชนเป็นระยะ

ชื่อกิจกรรม
จัดเวทีคืนข้อมูล แก่สมาชิกในชุมชนเป็นระยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คณะทำงานจัดการประชุมร่วมกับสมาชิกในชุมชน โดยการจัดประชุมหลังจากการประชุมคณะกรรมการเพื่อทบทวนผลการปรับจุดเสี่ยงว่าเป็นไปได้ตามเป้าหมายหรือไม่ และร่วมคิดวิธีการแก้ไขหากไม่เป็นไปตามเป้าหมาย

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมคืนข้อมูลทบทวนผล จากการปรับจุดเสี่ยง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 6 การเฝ้าระวังติดตามผล

ชื่อกิจกรรม
การเฝ้าระวังติดตามผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามผลการดำเนินงานหลังจากทำการปรับปรุงแก้ไขจุดเสี่ยง -ติดตามเก็บข้อมูลสถิติอุบัติเหตุบริเวณจุดเสี่ยงที่ได้รับการปรับปรุงเป็นประจำทุกเดือน -เฝ้าระวังจุดเสี่ยงบริเวณใหม่ที่อาจจะเกิดขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.คณะทำงาน ติดตามประเมินผลทุกเดือน 2.มีข้อมูลเชิงสถิติการเกิดอุบัติเหตุบริเวณจุดเสี่ยงที่แก้ไขปรับปรุง 3.แผนการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 45,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนในพื้นที่ มีสุขภาพ ที่ดีมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพสินลดปัญหาเรื่องอุบัติเหตุในพื้นที่ ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชุมชน


>