กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ตัวอย่าง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชีวีสดใส​ ไร้ควันบุหรี่​ที่มะนัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล ตัวอย่าง

บัณฑิตอาสาอำเภอมะนัง

1.น.ส.สุธาทิพย์​ แสงวิมาน
2.ว่าที่ ร.ต.หญิงบุปผา หนูฤทธิ์
3.นางสาวสานี้หย๊ะ สาม่าน
4.นางสาววิมลรัตน์ จันทพงศ์
5.​น.ส.วรรณา โอฬาริ​

พื้นที่ตำบลปาล์มพัฒนา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ ของประชาชนในชุมชน

 

70.00
2 ร้อยละ ของการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ ของประชาชนในชุมชน

 

70.00 40.00
2 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ในชุมชน

 

80.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/10/2018

กำหนดเสร็จ 15/01/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน​ เรื่องแนวทางการดำเนินงาน​ ชี้แจงกิจกรรมของโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงาน​ เรื่องแนวทางการดำเนินงาน​ ชี้แจงกิจกรรมของโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมทีมงานบัณฑิตฯพร้อมคณะกรรมการที่ปรึกษา​ 10​ คน​ และคณะกรรมการหมู่บ้านจำนวนละ 2 คน
รวมผู้เข้าร่วมทั้งหมด 30 คน

1.ค่าอาหารว่าง​ 1 ​มื้อ​ๆละ​ 25​ x 30 = 750 ​บาท

2.ค่าเดินทาง​ คนละ​ 50 บาท​ 50 x 30 = 1,500​บาท

3.ค่า​วัสดุอปกรณ์และเอกสารที่ใช้ในการจัดการประชุม​ ชุดละ 50 บาท50 x 30 = 1,500​ บาท

4.ค่า​ป้ายไวนิล​โครงการ​ชีวีสดใส​ ไร้ควันบุหรี่ที่มะนัง​ ขนาด 1*3 ​ 1 ผืน ตารางเมตรละ 150 บาท 150 x 3 ตร.เมตร = 450​ บาท​

รวมเป็นเงิน​ 4,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพื่อให้ทราบแนวทางการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ​ และร่วมกันจัดโครงการให้บรรลุตามเป้าประสงค์ตามกิจกรรมที่วางไว้ของโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4200.00

กิจกรรมที่ 2 อบรม

ชื่อกิจกรรม
อบรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ลดการสูบบุหรี่ตามทึ่สาธารณะและจุดเสี่ยงบริเวณที่ปิดป้ายประกาศ​ ช่วยให้เกิดกลุ่มผู้รับควันบุหรี่ในจุดเสี่ยงลดอัตราลงได้ตามที่ตั้งตัวชี้วัดสูงสุด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15500.00

กิจกรรมที่ 3 ปลูกจิตสำนึกรัก ลด ละ เลิก

ชื่อกิจกรรม
ปลูกจิตสำนึกรัก ลด ละ เลิก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

มีกิจกรรมรณรงค์​ พร้อมปิดป้ายสติ๊กเกอร์การเลิกสูบในที่สาธารณะเพื่อให้เกิดความตระหนักของการลดการสูบบุหรี่

1.ป้ายสติ๊เกอร์เพื่อปิดประกาศ​ ตามสถานที่สาธารณะ​ จำนวน ​100​ ป้าย​ ป้ายละ​ 10​ บาท​ 100 x 10​ =1000

2.ค่าอาหาร​ 1 มื้อๆละ 50 พร้อมอาหารว่าง​ 1 มื้อๆละ ​25 บาท​ เยาวชนร่วมรณรงค์จำนวน​ 50​ คน​ 10x50x30=15,000 เป็นเงินรวม​ 15500

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ลดอัตราผู้เสพบุหรี่ในบริเวณที่สาธารณะลดลงได้​ 30%
2.ลดอัตราผู้รับควันบุหรี่มือ2บริเวณที่สาธารณะได้​ 30%


>