กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

เทศบาลตำบล บ้านไร่ รหัส กปท. F5901110

อำเภอ จังหวัด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
ช่องแคบมะละกอ สิบล้อผักสวนครัว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองการศึกษา เทศบาลตำบลบ้านไร่
กลุ่มคน
นายประพันธ์ จันทโชโต
นางฟาติเม๊าะ ทองมาก
นางสาวจริยาวดี บินโส๊ะ
นางสาวชุติภา พิพัฒน์เจริญชัย
นางสาวขวัญชนก พยัคฆญาติ
3.
หลักการและเหตุผล

เด็กภายในศูนย์เด็กเล็กฯ ส่วนใหญ่ไม่ค่อยชอบรับประทานผัก ผลไม้ และเด็กมีร่างกายที่ผอม โครงการนี้จัดขึ้นเพื่อให้เด็กมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษด้วยตัวเองและนำมารับประทานเอง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 5.00
  • 2. ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม
    ตัวชี้วัด : จำนวนร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัมเพิ่มมากขึ้น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 60.00
  • 3. ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 5.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. วิเคาระห์สภาพปัญหาในปัจจุบันและระดมความคิดของผู้ปกครองรวมถึงคณะทำงานและครูผู้ดูแลเด็กเล็ก
    รายละเอียด

    -ร่วมกันเสนอสภาพปัญหาของผัก ผลไม้ ที่ปนเปื้อนสารพิษ ที่พบอยู่ในพื้นที่ ศพด. -ระดมความคิดและกำหนดแนวทางในการจัดโครงการ -เขียนโครงการเพื่อเสนอผู้บริหาร เพื่อขออนุมัติโครงการ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

    -จัดประชุมคณะทำงานและครูผู้ดูแลศูนย์เด็กเล็ก เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของโครงการ

    • รายละเอียดโครงการ
    • วิธีการดำเนินงาน
    • งบประมาณ
    • มอบหมายหน้าที่

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน250 บาท

    งบประมาณ 250.00 บาท
  • 3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ในการบริโภคผักและวิธีการปลูกผักในล้อยาง
    รายละเอียด

    อบรมคณะทำงาน ครูผู้ดูแลเด็กเล็ก และบุคคลที่สนใจ เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ การปลูกผักในล้อยาง การดูแลต้นไม้ให้เจริญเติบโต โทษของการทานผักและผลไม้ที่มีสารพิษเจือปน โดยเชิญปราชญ์ชาวบ้านในพื้นที่มาเป็นวิทยากร

    • ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน คนละ 50 บาท เป็นเงิน 1500บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
    • ค่าวัดสุอุปกรณ์ เช่น ดิน เมล็ดพันธุ์ จอบ เสียม ล้อยาง ฯลฯ เป็นเงิน 2,000บาท
    งบประมาณ 6,050.00 บาท
  • 4. ลงมือปฏิบัติ
    รายละเอียด
    • ตรวจสภาวะโภชนาการเด็ก
    • คณะทำงานและครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน 10 คน นำเด็กเล็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและผู้ปกครองลงมือปฏิบัติจริง โดยไม่ใช้สารเคมีในการปลูกผักและผลไม้ ใช้พื้นที่บริเวณรอบศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่
    • เตรียมอุปกรณ์และสถานที่
    • ให้เด็กและผู้ปกครองช่วยกันปลูกผักในล้อยาง โดยมีคณะทำงานควบคุมและแนะนำอย่างใกล้ชิด
    • ให้เด็กและผู้ปกครองช่วยกันปลูกต้นมะละกอ บริเวณพื้นที่ว่างระหว่างอาคารเรียน
    • แจกเมล็ดพันธุ์ผักและผลไม้ให้ผู้ปกครอง เพื่อนำไปเพาะพันธุ์ต่อที่ครัวเรือนของตนเอง
    • ครูจัดทำเวรให้เด็กเล็ก เพื่อรดน้ำและดูแลผัก ผลไม้ ที่เด็กช่วยกันปลูก
    • ถ่ายรูปเด็กๆ คู่กับผักและผลไม้ที่เด็กๆปลูก และได้รับมอบหมายให้ดูแล เพื่อดูการเจริญเติบโตของผักและผลไม้เหล่านั้น

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 130 คน คนละ 25 บาทเป็นเงิน3,250บาท

    งบประมาณ 3,250.00 บาท
  • 5. ติดตามผลกิจกรรม
    รายละเอียด

    ให้ครูติดตามผลการดำเนินกิจกรรม ทุกๆ สัปดาห์ จนกว่าผักหรือผลไม้นั้นจะพร้อมสำหรับการนำไปรับประทาน โดยวิธีการดังนี้

    • ตรวจสอบว่าเด็กรดน้ำต้นไม้ตามเวรที่ได้รับมอบหมายหรือไม่
    • ตรวจสอบการเจริญเติบโตของผักและไม้ที่ปลูกไว้ โดยถ่ายรูปผักผลไม้กับเด็กๆที่รับผิดชอบการปลูกนั้น ทุกๆ สัปดาห์
    • ให้รางวัล ชมเชย หรือคะแนนแก่เด็กที่รับผิดชอบผักและผลไม้ของตัวเองได้ดี
    • ประเมินความเปลี่ยนแปลงของสภาวะโภชนาการเด็ก โดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง
    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลบ้านไร่

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 9,550.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

โครงการช่องแคบมะละกอ สิบล้อผักสวนครัว ต้องการเป็นฟันเฟืองเล็กๆ ในการขับเคลื่อนและรณรงค์การทานผักและผลไม้ปลอดสารพิษ ท้ังภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและบริเวณชุมชนใกล้เคียง คณะผู้ดำเนินโครงการคาดหวังให้โครงการนี้ มีผลดังนี้ 1.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับประทานผักและผลไม้ปลอดสารพิษอย่างแท้จริง 2.เด็กมีทัศนคติในการทานผักและผลไม้เป็นไปในทางที่ดีขึ้น และรับประทานผักผลไม้มากขึ้น 3.เด็กที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ มีจำนวนลดลง เพราะได้รับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนและมีประโยชน์ รวมถึงมีการประเมินสภาวะโภชนาการของเด็กอยู่เสมอ 4.คนในชุมชน (ผู้ปกครอง) ตระหนักถึงความสำคัญของการทานผักและผลไม้ปลอดสารพิษ

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

เทศบาลตำบล บ้านไร่ รหัส กปท. F5901110

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561
เรียน ประธานกรรมการเทศบาลตำบล บ้านไร่
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

เทศบาลตำบล บ้านไร่ รหัส กปท. F5901110

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 9,550.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................