กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ เทศบาลเมือง สะเดา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

เด็กสะเดาสุขภาพดีด้วยเมนูอ่อนหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

เทศบาลเมือง สะเดา

กองการศึกษา เทศบาลเมืองสะเดา

ศพด.และโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองสะเดา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กที่มีภาวะโภชนาการปกติมีอาหารที่รับประทานถูกหลักโภชนาการ

 

100.00
2 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

 

30.00
3 จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (คน)

 

250.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

30.00 30.00
2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย

จำนวนเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย(คน)

50.00
3 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)

10.00
4 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 760
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ครู 15
แม่ครัว 10

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/07/2018

กำหนดเสร็จ 02/07/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมและต่งตั้งประชุมคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมและต่งตั้งประชุมคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เพื่อวางแผนการดำเนินงาน โดย ค่าอาหารว่างในการประชุม 25บาท 30 คน 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีกรอบและแนวทางในการดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

กิจกรรมที่ 2 สำรวจ คัดกรองเด็กเล็ก นักเรียนและครู ที่มีภาวะอ้วน

ชื่อกิจกรรม
สำรวจ คัดกรองเด็กเล็ก นักเรียนและครู ที่มีภาวะอ้วน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เพื่อทราบข้อมูลในการจัดการ วิเคราะห์ อาหารที่ควรให้เด็กรับประทานในแต่ละวัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีข้อมูลในการบริหารจัดการ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลและวิธีการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้เด็กเล็ก ผู้ปกครอง ครู เพื่อทราบถึงความสำคัญของเมนูอ่อนหวารน

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้เด็กเล็ก ผู้ปกครอง ครู เพื่อทราบถึงความสำคัญของเมนูอ่อนหวารน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมสถานศึกษาละ 1 วัน โดยใช้วิทยากจำนวน ครั้งละ 2 ท่าน   x  1200  บาท  ค่าอาหารว่าง เด็กนักเรียน ผู้ปกครอง   25  บาท x 1500 คน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กเล็ก ผู้ปกครอง ในศพด.และโรงเรียน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
37500.00

กิจกรรมที่ 4 จัดนิทรรศการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ เรื่องเมนูอ่อนหวาน โดยนำวิทยากรในชุมชนมาให้ความรู้ พร้อมปฏิบัติจริง

ชื่อกิจกรรม
จัดนิทรรศการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ เรื่องเมนูอ่อนหวาน โดยนำวิทยากรในชุมชนมาให้ความรู้ พร้อมปฏิบัติจริง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ศพด.แต่ละแห่งดำนินการจัดนิทรรศการเมนูอ่อนหวานที่รับประทานมาสาธิตและให้เด็ก ผู้ปกครอง ครู เข้าร่วมกิจกรรม ฝึกปฏิบัติจริง โดยให้นำงบประมาณค่าอาหารกลางวันของแต่ละสถานศึกษามาใช้ และขอสนับสนุนงบประมาณ เมนูอ่อนหวาน สถานศึกษาละ 1500 บาท  x 5 แห่ง

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กนักเรียน ครู ผู้ปกครอง เข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของอาหารที่ถูกสุขลักษณะ มีประโยชน์ สมวัยตามหลักโภชนาการ รสชาติไม่จัด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7500.00

กิจกรรมที่ 5 ติดตามเยี่ยมบ้าน ค้นหาเมนูอ่อนหวาน เมนูชูสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ติดตามเยี่ยมบ้าน ค้นหาเมนูอ่อนหวาน เมนูชูสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ครูและเจ้าหน้าที่ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กเพื่อติดตามการทำเมนูอ่อนหวาน เมนูชูรส ทราบถึงสาเหตุของเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีข้อมูลเด็กเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม เรื่องการรับประทานอาหาร การนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปประยุกต์ใช้ในครัวเรือน นำข้อมูลมาวิเคราะห์  เพื่อพัฒนาแนวทางในการดำเนินงานเกี่ยวกับอาหาร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 จัดทำบันทึกข้อตกลงในสถานศึกษา นำเมนูอ่อนหวานมาประยุกต์ใช้

ชื่อกิจกรรม
จัดทำบันทึกข้อตกลงในสถานศึกษา นำเมนูอ่อนหวานมาประยุกต์ใช้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพื่อจัดทำบันทึกข้อตกลงในโรงเรียน สถานศึกษา เช่น ให้จัดอาหารกลางวันที่เป็นเมนูอ่อนหวานเท่านั้น การจัดประชุม หรือจัดโครงการต่างๆ ต้องไม่ใช้อาหารที่หวานมันเค็ม ไม่มีน้ำอัดลม

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีระบบกลไลในการควบคุมอาหารปลอดภัย สมวัย ไม่อ้วน ให้เด็ก ครู

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 7 ประเมินและติดตามผล

ชื่อกิจกรรม
ประเมินและติดตามผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เปรียบเทียบการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ของเด็กเล็ก เด็กนักเรียน ก่อนและหลัง

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 45,750.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เด็กอ้วนลดลง มีอาหารกลางวันที่เหมาะสมกับวัย ถูกหลักโภชนาการ เด็กทุพโภชนาการลดลง ร้อยละ 5


>