กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ เทศบาลตำบล พะตง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

เทศบาลตำบล พะตง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลพะตง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กอายุ0-6ปีมีน้ำหนักตามเกณฑ์

 

3.00
2 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

 

20.00

การกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน "โภชนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข โดยเฉพาะในเด็กปฐมในเด็กปฐมเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยเป็นที่อยู่ในระยะสำคัญของสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคมคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่สำคัญที่สุด เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธานเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทำให้นักเรียนที่มีภาวะผอม น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างผอม ลดลง คงเหลือ 4 คน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

20.00 5.00
2 เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า6 ปี มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

3.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/05/2018

กำหนดเสร็จ 31/10/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการในเด็ก

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการในเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดอบรมให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็กผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องและผู้ประกอบอาหารกลางวันเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการในเด็กปฐมวัย - ค่าตอบแทนวิทยากร 6001 คน * 2ชม. = 1200 บาท - ค่าอาหารว่าง 25 บาท 10 คน = 250 บาท 2.จัดอบรมผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย - ค่าตอบแทนวิทยากร 6001 คน * 1ชม. = 600 บาท - ค่าอาหารว่าง 25 บาท 60 คน = 1500 บาท 3.พัฒนาติดตามเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการพร้อมให้ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐาน 3.จัดซื้อสื่อโมเดลเกี่ยวกับอาหารจำนวน 3 ชุด - ชุดโมเดลอาหารหลัก 5 หมู่ - ชุดโมเดลธงโภชนาการ - ชุดโมเดลอาหารที่ทำให้เกิดฟันผุและโรคอ้วน รวมชุดโมเดล 20,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เด็กนักเรียนทุกคนมีภาวะโภชนการที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22950.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอาหารเช้าให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ

ชื่อกิจกรรม
จัดอาหารเช้าให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดอาหารเช้าให้กับเด็กนักเรียนกลุ่มที่ภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 20 คน - ค่าอาหารเช้าสำหรับนักเรียนกลุ่มที่ภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 20 คน * 20 บาท * 102 วัน = 40,800 บาท 2.จัดให้มีเมนูอาหารกลางวันที่เน้นให้นักเรียนได้รับไข่ ตับ เพิ่มขึ้นและปรับปรุงเมนูอาหารให้มีคุณภาพ ไม่มีไส้กรอก ลูกชิ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เด็กนักเรียนทุกคนมีภาวะโภชนการที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
40800.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก

ชื่อกิจกรรม
ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูงเพื่อประเมินภาวะทุพโภชนาการทุก 3 เดือน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังติดตามทุกคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 63,750.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

จำนวนเด็ก ต่ำกว่า 6 ปี มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง ลดลงไม่เกินร้อยละ 5 ของกลุ่มเป้าหมาย
เด็กอายุต่ำกว่า6 ปี มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 3 ของกลุ่มเป้าหมาย


>