กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา รหัส กปท. L5296

อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๑
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยในชุมชนครอบคลุมทุกเพศทุกวัยมีรูปแบบหลากหลายทั้งยาอาหารเสริม เครื่องสำอางและเครื่องมือแพทย์กล่าวอ้างสรรพคุณโอ้อวดเป็นเท็จ เกินความจริง โดยกลยุทธ์หลักคือการโฆษณา กระตุ้นความต้องการ อยากลอง อยากใช้ ให้เกิดความเชื่อถือศรัทธา ต่อผลิตภัณฑ์ เมื่อผู้ใช้หลงเชื่อถึงขั้นศรัทธาแล้ว เป็นการยากที่จะเปลี่ยนทัศนคติให้เข้าใจสิ่งที่ถูกต้องได้การโฆษณา ผ่านสื่อต่าง ๆ ทั้งทางวิทยุชุมชน โทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียมรถเร่ใบปลิวป้ายสื่อสิ่งพิมพ์ การขายตรงโดยสื่อบุคคลที่น่าเชื่อถือ ตามกลุ่มเป้าหมายของสินค้า นอกจากนี้ยังเสริมด้วยกลยุทธ์สร้างการยอมรับจากสังคมเช่น ตั้งราคาผลิตภัณฑ์ให้สูง แสดงถึงฐานะผู้ใช้และทัศนคติ ของดี ราคาย่อมแพง เป็นผู้นำสมัยเป็นต้นในขณะที่ภาครัฐทั้งบุคลากรระเบียบ หลักเกณฑ์และกฎหมาย ไม่สามารถดำเนินการบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กฎหมายบางอย่างล้าสมัยและไม่ครอบคลุม บางประเด็นปัญหาไม่มีกฎหมายรองรับการป้องกัน แก้ไข และประการสำคัญ ผู้ดำเนินการในระดับชุมชนไม่สามารถใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างเดียว จำเป็นต้องใช้มาตรการทางสังคมและหลักรัฐศาสตร์ ดำเนินการควบคู่ไปด้วยซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานเฝ้าระวังด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนของตำบลนิคมพัฒนา ในรอบปี 2559 พบว่าในชุมชนยังมีผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งอาหารเครื่องสำอาง ยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ไม่ปลอดภัยจำหน่ายในชุมชนกันอย่างแพร่หลาย นอกจากนี้ยังรวมถึงสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับอาหารถึงแม้จะผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด แต่ก็ยังมีประเด็นที่ต้องปรับปรุงให้ได้ตามมาตรฐานที่สูงขึ้นอีกหลายประเด็น ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนิคมพัฒนา จึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนขึ้น เพื่อพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนโดยใช้กลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านเครือข่ายนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนและอย.น้อยเป็นเครือข่ายดำเนินงาน ภายใต้การสนับสนุนจากคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับตำบล เน้นการใช้มาตรการทางสังคมควบคู่ไปกับมาตรการทางกฎหมาย

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ 2.เพื่อดำเนินการควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้มีความปลอดภัยต่อการบริโภค3.เพื่อพัฒนาสถานประกอบการทางด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารให้ผ่านมาตรฐานที่กำหนด
    ตัวชี้วัด : 1. มีเครือข่ายนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน จำนวน 9 หมู่ๆบ้านละ 3 คน รวม 27 คน 2. มีเครือข่าย อย.น้อย โรงเรียนละ 10 คน จำนวน 5 โรงเรียน รวม 50 คน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1. ขั้นวางแผนและเตรียมงาน - เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการขั้นตอนการดำเนินงาน 2.ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ชุดทดสอบผลิตภัณฑ์ - อบรมให้ความรู้เรื่องสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง ทดสอบสารต้องห้ามในเคร
    รายละเอียด

    กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนตามเกณฑ์มาตรฐานกรมศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ จำนวน 9 หมู่บ้านๆ ละ 3 คน รวม 27 คน จำนวน 1 วัน - ค่าวิทยากร จำนวน 6 ช.ม X 600 บาท X 1 วัน                      เป็นเงิน  3,6๐0 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 27 คน X 2 มื้อ X ๒๕ บาท    เป็นเงิน  1,350  บาท - ค่าอาหารกลางวันจำนวน  27 คน X 1 มื้อ X 60 บาท           เป็นเงิน  1,620  บาท - ค่าจัดทำเอกสารในการอบรมจำนวน 27 ชุด X 30 บาท              เป็นเงิน    810  บาท
    - ค่าชุดทดสอบสารปนเปื้อนที่ใช้ในการตรวจผลิตภัณฑ์           เป็นเงิน 23,240 บาท รวมเป็นเงิน    30,620 บาท กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมหลักสูตรอย.น้อยให้กับผู้นำนักเรียน จำนวน 5 โรงเรียนๆ ละ 10 คน รวม 50 คน จำนวน 1 วัน - ค่าวิทยากร จำนวน 6 ช.ม X 600 บาท  X 1 วัน                      เป็นเงิน    3,6๐0 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน X 2 มื้อ X ๒๕ บาท    เป็นเงิน    2,500 บาท - ค่าอาหารกลางวันจำนวน  50 คน X 1 มื้อ X 60 บาท           เป็นเงิน    3,000 บาท
    - ค่าจัดทำเอกสารในการอบรมจำนวน 50 ชุด X 30 บาท           เป็นเงิน    1,500 บาท รวมเป็นเงิน  10,600 บาท กิจกรรมที่ 3  จัดระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ       จัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังด้านทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคในทุกหมู่บ้าน - ค่าจัดทำป้ายศูนย์เฝ้าระวังด้านทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคในทุกหมู่บ้าน จำนวน 9 ป้าย X 300บาท                                  เป็นเงิน 2,700 บาท รวมเป็นเงิน  2,700 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  43,920  บาท ( สี่หมื่นสามพันเก้าร้อยยี่สิบบาทถ้วน

    งบประมาณ 43,920.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

8.
สถานที่ดำเนินการ

ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 43,920.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ประชาชนได้บริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และเกิดระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพของชุมชนที่มีประสิทธิภาพที่ต่อเนื่องภายใต้กลไกขับเคลื่อนคู่กันระหว่างมาตรการทางสังคมและมาตรการทางกฎหมายอันจะนำไปสู่การพึ่งตนเองได้ทางสุขภาพอย่างแท้จริงในอนาคต

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา รหัส กปท. L5296

อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2561
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา รหัส กปท. L5296

อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 43,920.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................