กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๑

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๑

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันสถานการณ์การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยในชุมชนครอบคลุมทุกเพศทุกวัยมีรูปแบบหลากหลายทั้งยาอาหารเสริม เครื่องสำอางและเครื่องมือแพทย์กล่าวอ้างสรรพคุณโอ้อวดเป็นเท็จ เกินความจริง โดยกลยุทธ์หลักคือการโฆษณา กระตุ้นความต้องการ อยากลอง อยากใช้ ให้เกิดความเชื่อถือศรัทธา ต่อผลิตภัณฑ์ เมื่อผู้ใช้หลงเชื่อถึงขั้นศรัทธาแล้ว เป็นการยากที่จะเปลี่ยนทัศนคติให้เข้าใจสิ่งที่ถูกต้องได้การโฆษณา ผ่านสื่อต่าง ๆ ทั้งทางวิทยุชุมชน โทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียมรถเร่ใบปลิวป้ายสื่อสิ่งพิมพ์ การขายตรงโดยสื่อบุคคลที่น่าเชื่อถือ ตามกลุ่มเป้าหมายของสินค้า นอกจากนี้ยังเสริมด้วยกลยุทธ์สร้างการยอมรับจากสังคมเช่น ตั้งราคาผลิตภัณฑ์ให้สูง แสดงถึงฐานะผู้ใช้และทัศนคติ ของดี ราคาย่อมแพง เป็นผู้นำสมัยเป็นต้นในขณะที่ภาครัฐทั้งบุคลากรระเบียบ หลักเกณฑ์และกฎหมาย ไม่สามารถดำเนินการบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กฎหมายบางอย่างล้าสมัยและไม่ครอบคลุม บางประเด็นปัญหาไม่มีกฎหมายรองรับการป้องกัน แก้ไข และประการสำคัญ ผู้ดำเนินการในระดับชุมชนไม่สามารถใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างเดียว จำเป็นต้องใช้มาตรการทางสังคมและหลักรัฐศาสตร์ ดำเนินการควบคู่ไปด้วยซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานเฝ้าระวังด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนของตำบลนิคมพัฒนา ในรอบปี 2559 พบว่าในชุมชนยังมีผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งอาหารเครื่องสำอาง ยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ไม่ปลอดภัยจำหน่ายในชุมชนกันอย่างแพร่หลาย นอกจากนี้ยังรวมถึงสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับอาหารถึงแม้จะผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด แต่ก็ยังมีประเด็นที่ต้องปรับปรุงให้ได้ตามมาตรฐานที่สูงขึ้นอีกหลายประเด็น
ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนิคมพัฒนา จึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนขึ้น เพื่อพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนโดยใช้กลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านเครือข่ายนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนและอย.น้อยเป็นเครือข่ายดำเนินงาน ภายใต้การสนับสนุนจากคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับตำบล เน้นการใช้มาตรการทางสังคมควบคู่ไปกับมาตรการทางกฎหมาย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ 2.เพื่อดำเนินการควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้มีความปลอดภัยต่อการบริโภค3.เพื่อพัฒนาสถานประกอบการทางด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารให้ผ่านมาตรฐานที่กำหนด
  1. มีเครือข่ายนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน จำนวน 9 หมู่ๆบ้านละ 3 คน รวม 27 คน
  2. มีเครือข่าย อย.น้อย โรงเรียนละ 10 คน จำนวน 5 โรงเรียน รวม 50 คน
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
1. มีเครือข่ายนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน จำนวน 9 77

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ขั้นวางแผนและเตรียมงาน - เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการขั้นตอนการดำเนินงาน 2.ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ชุดทดสอบผลิตภัณฑ์ - อบรมให้ความรู้เรื่องสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง ทดสอบสารต้องห้ามในเคร

ชื่อกิจกรรม
1. ขั้นวางแผนและเตรียมงาน - เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการขั้นตอนการดำเนินงาน 2.ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ชุดทดสอบผลิตภัณฑ์ - อบรมให้ความรู้เรื่องสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง ทดสอบสารต้องห้ามในเคร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนตามเกณฑ์มาตรฐานกรมศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ จำนวน 9 หมู่บ้านๆ ละ 3 คน รวม 27 คน จำนวน 1 วัน     - ค่าวิทยากร จำนวน 6 ช.ม X 600 บาท X 1 วัน                       เป็นเงิน   3,6๐0 บาท     - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 27 คน X 2 มื้อ X ๒๕ บาท     เป็นเงิน   1,350  บาท     - ค่าอาหารกลางวันจำนวน  27 คน X 1 มื้อ X 60 บาท               เป็นเงิน   1,620  บาท
    - ค่าจัดทำเอกสารในการอบรมจำนวน 27 ชุด X 30 บาท              เป็นเงิน     810  บาท
    - ค่าชุดทดสอบสารปนเปื้อนที่ใช้ในการตรวจผลิตภัณฑ์              เป็นเงิน 23,240 บาท                     รวมเป็นเงิน    30,620 บาท กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมหลักสูตรอย.น้อยให้กับผู้นำนักเรียน จำนวน 5 โรงเรียนๆ ละ 10 คน รวม 50 คน จำนวน 1 วัน     - ค่าวิทยากร จำนวน 6 ช.ม X 600 บาท  X 1 วัน                      เป็นเงิน    3,6๐0 บาท     - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน X 2 มื้อ X ๒๕ บาท    เป็นเงิน    2,500 บาท     - ค่าอาหารกลางวันจำนวน  50 คน X 1 มื้อ X 60 บาท              เป็นเงิน    3,000 บาท
    - ค่าจัดทำเอกสารในการอบรมจำนวน 50 ชุด X 30 บาท            เป็นเงิน    1,500 บาท                     รวมเป็นเงิน  10,600 บาท กิจกรรมที่ 3  จัดระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ            จัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังด้านทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคในทุกหมู่บ้าน     - ค่าจัดทำป้ายศูนย์เฝ้าระวังด้านทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคในทุกหมู่บ้าน จำนวน 9 ป้าย X 300บาท                                   เป็นเงิน 2,700 บาท                     รวมเป็นเงิน  2,700 บาท             รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  43,920  บาท ( สี่หมื่นสามพันเก้าร้อยยี่สิบบาทถ้วน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
43920.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 43,920.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนได้บริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และเกิดระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพของชุมชนที่มีประสิทธิภาพที่ต่อเนื่องภายใต้กลไกขับเคลื่อนคู่กันระหว่างมาตรการทางสังคมและมาตรการทางกฎหมายอันจะนำไปสู่การพึ่งตนเองได้ทางสุขภาพอย่างแท้จริงในอนาคต


>