กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ลดละเลิกบุหรี่ เด็กและเยาวชน โรงเรียนบ้านเปาะเส้ง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง

ชมรมจิตอาสาญาลันนันบารู ตำบลเปาะเส้ง

1.น.ส.มาสีเตาะ บาดา เบอร์โทร 0808798093
2.น.ส.กูมีนี ยูโซะ
3.น.ส.รอหานีรัตนโกสุม
4.น.ส.สานียะห์ สะเตาะ
5.น.ส.พาซียะห์เจะหะ

ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี) ที่สูบบุหรี่

 

70.00
2 ร้อยละของผู้เลิกบุหรี่ได้สำเร็จ (เลิกติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ)

 

60.00

เนื่องจากชุมชนตำบลเปาะเส้ง เป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท อยู่ในอำเภอเมืองยะลา ทำให้การพัฒนากระแสค่านิยม บริโภคนิยม สื่อต่างกระแสหลักต่างๆ เข้าในชุมชนได้ง่ายร่วมทั้งปัจจัยการพัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญกับเยาวชนรุ่นใหม่ ได้เกิดการเรียนรู้ อยากรู้ อยากลอง เพราะผู้ปกครองไม่มีเวลาที่จะมาแนะนำให้ความรู้กับลูกๆ อีกทั้งบ้างครอบครัวพ่อแม่ไม่มีความรู้ ด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ ไม่ได้ให้คำแนะนำ เพราะต้องใช้เวลาทำมาหากิน เพื่อหารายได้มาเลี้ยงครอบครัว ทำให้เยาวชน ใช้เวลาที่มีอยู่ แต่ละวันอยู่กับเพื่อน ติดเพื่อน ติดเกมส์ และเกิดความรู้อยากลอง โดยเฉพาะการสูบบุหรี่ ซึ้งเป็งจุดเริ่มต้นที่จะให้เยาวชนสูบบุหรี่ และพัฒนาเป็นการใช้สารเสพติดตัวอื่นๆ ซึ่งที่ผ่านมารัฐบาลได้มีการรณรงค์ ให้นักเรียนเห็นโทษของการสูบบุหรี่และการเสพยาเสพติด เพื่อให้นักเรียนและเยาวชนทุกคนตระหนักถึง ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ โดยรณรงค์ให้ใส่ใจสุขภาพตนเองร่วมถึงผู้อยู่ใกล้เคียง แต่แนวโน้มที่พบในชุมชนเปาะเส้งในทุกครัวเรือน จะมีผู้ที่สูบบุหรี่และสารเสพติดเพิ่มมากขึ้น ในส่วมตำบลเปาะเส้งก็สนับสนุน ประกาศเขตปลอดบุหรี่ภายในตำบล โรงเรียน หากพบเห็นถือว่าจะมีโทษทางวินัย แต่ก็ยังพบเห็นเสมอว่านักเรียนที่แอบสูบบุหรี่ ยังหาดจิตสำนึกในการปกการตัวเองจากโรคร้ายภัยของบุหรี่
จึงเห็นควรจัดโครงการ ละ เลิก บุหรี่ เด็กและเยาวชนในชุมชนเปาะเส้ง เพื่อช่วยให้เด็กเเละเยาวชนเกิดจิตสำนึกที่ดี ที่จะดูแลสุขภาพของตนเอง และของผู้อยู่ใกล้เคียง ภายใต้ความรู้ที่ถูกต้อง ว่าบุหรี่มีโทษิย่างไร และการเสพยาเสพติด ก่อให้เกิดผลเสียหายตามมาอย่างไรบ้าง ดังนั้น ชุมชนจิตอาสาญาลันนาบารูตำบลเปาะเส้ง ซึ่งเป็นทีมงานที่ขับเคลื่อนงานปกกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้อที่ ได้เกิดแนวทางที่จะประสานความร่วมมือกับชุมชนเพื่อต้องการ ปกกันจุดเริ่มต้นของปัญหายาเสพติดในชุมชน โดยจัดกิจกรรม ให้ความรู้ โทษของบุหรี่ ใในสถานศึกษาในตำบลเปาะเส้งิ และร่วมกันสำรวจข้อมูลสภาพปัญหาของชุมชน โดยมีชุมจิตอาสาญาลันนาบารู เป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับน้องและเยาวชน มาปรึกษาอีกทั้งจัดกิจกรรม ลดช่อองว่าง สนับสนุนบำเพญประโยชน์ เปิดโอกาศ การมีส่วมร่วมของคนในชุมชน ช่วยกันดุแลเยาวชนของชุมชน ให้ละ เลิก บุหรี่ ได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

70.00 40.00
2 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ

อัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนโดยไม่กลับไปสูบซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)

60.00 20.00
3 เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากโทษพิษภัยของบุหรี่ี และสร้างแรงจูงใจในการลดละบุหรี่

 

60.00 30.00
4 1. เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากพิษภัยของบุหรี่ี และสร้างแรงจูงใจในการลดละบุหรี่

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงานเพื่อออกแบการเก็บข้อมูล

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงานเพื่อออกแบการเก็บข้อมูล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมทีมเพื่อดำเนินโครงการประกอบด้วย ทีมจิตอาสาตำบลเปาะเส้ง จำนวน 12 คน และ ครูโรงเรียน (ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูฝ่ายปกครอง)จำนวน 5 คน เพื่อชี้แจ้ง วัตถุประสงค์โครงการและทำความเข้าใจ การออกแบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลสถานาการณ์สารเสพติด ใช้เวลา ครึ่งวัน
ค่าใช้จ่าย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 17 คน *25 บาท =425 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดแนวทางเก็บข้อมูลสถานการณ์สารเสพติดและแบบสอบถามการเก็บข้อมูล

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
425.00

กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์บุหรี่และสารเสพติดในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
สำรวจข้อมูลสถานการณ์บุหรี่และสารเสพติดในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สำรวจข้อมูลเด็กและเยาวชนในโรงเรียนบ้านเปาะเส้ง จำนวน 180 คน จำนวน 1 ครั้ง โดยอาสาสมัครจิตอาสาญาลันนันบารู
ค่าใช้จ่าย
- ค่าถ่ายเอกสารแบบสอบถาม จำนวน 200 ชุด x 5 บาท =1,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 2 วัน* 3 คน *50 บาท =300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. จิดอาสาสมัครญาลันนันบารูลงเก็บข้อมูลตามแผนงานที่วางไว้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1300.00

กิจกรรมที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูลและจัดเวทีคืนข้อมูลสถานการณ์ยาเสพติดแก่เยาวชนในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
วิเคราะห์ข้อมูลและจัดเวทีคืนข้อมูลสถานการณ์ยาเสพติดแก่เยาวชนในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

นำข้อมูลจากการเก็บด้วยแบบสอบถามมาวิเคราะห์และจัดทำข้อมูลประกอบการนำเสนอเพื่อคืนข้อมูลสถานการณ์การสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนแก่ผู้ปกครองและคณะกรรมการศึกษาของโรงเรียน
ค่าใช้จ่าย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 250 คน x 25 บาท x 1 มื้อ =6,250 บาท - ค่าป้ายไวนิล ขนาด1×2เมตรจำนวน2ป้าย จำนวนเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์สารเสพติดของนักเรียน
  2. เกิดแนวทางแก้ไขปัญหาสารเสพติดของโรงเรียน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6750.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมแกนนำเด็กและเยาวชนและผู้ปกครองและคณะกรรมการศึกษาโรงเรียนบ้านเปาะเส้งและเจ้าของร้านชำที่จำหน่ายบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
ประชุมแกนนำเด็กและเยาวชนและผู้ปกครองและคณะกรรมการศึกษาโรงเรียนบ้านเปาะเส้งและเจ้าของร้านชำที่จำหน่ายบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านเปาะเส้ง/ผู้นำศาสนาและทีมงานอาสาสมัครญาลันนันบารู อบรมเรื่อง..ให้ความรู้โทษของบุหรี่และสารเสพติดร่วมทั้งแผนปฎิบัติการณ์เฝ้า ดูแลเยาวชนละ เลิก บุหรี่ จำนวน 120 คน จำนวน 1 ครั้ง ค่าใช้จ่าย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 120 คน x 25บาท x 2 มื้อ =6000บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 120 คน x50 บาท 1 มื้อ= 6000 บาท
ค่าป้ายไวนิล ขนาด1×2เมตรจำนวน2ป้าย จำนวนเงิน= 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ข้อมูลเยาวชนที่ติดบุหรี่เพิ่มขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17000.00

กิจกรรมที่ 5 พัฒนาทักษะเด็กและเยาวชนในการลดเลิกบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาทักษะเด็กและเยาวชนในการลดเลิกบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

มีการบรรยาย แบ่งกลุ่มเป็นฐานเรียนรู้อภิปรายเรื่องพิษภัยบุหรี่
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 30 คน x 25 บาท x 4 มื้อ = 3,000 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน x 50 บาท x 2 มื้อ = 3,000 บาท
3.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 คน x 300 บาท x 3 ชั่วโมง = 5,400 บาท 4.ค่าป้ายไวนิล ขนาด1×2เมตรจำนวน2ป้าย จำนวนเงิน 500 บาท 5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กและเยาวชนมีจำนวน 30 คน มีทักษะและลดเลิกบุหรี่ได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 38,375.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

8.1 เด็กและเยาวชนตำบลเปาะเส้งสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดเลิกบุหรี่
8.2ผู้ปกครองและครูโรงเรียนบ้านตำบเปาะเส้งและเจ้าของร้านจำหน่ายบุหรี่เห็นความสำคัญ และตระหนักของพิษภัยบุหรี่ และให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาอีกด้วย


>