กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการจัดการขยะมูลฝอยภายในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
องค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออก
กลุ่มคน
1.นายอับดุลมาน๊ะ หะยีหะมะ
2.นายไซมิงปูเต๊ะ
3.นายตอเละ สะรีบู
4.นายมูฮำมะซากี ปูเตะ
5.นางนูรียะ หะยีดิง
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ขยะเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดผลกระทบและเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชน เป็นเหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรคเช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง ฯลฯเป็นแหล่งแพร่กระจ่ายเชื้อโรค มีกลิ่นเหม็น ก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม เกิดสภาพไม่น่าดูสกปรกน่ารังเกียจขยะยังทำให้น้ำเสียและสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ สารพัดโรคร้ายจากขยะคนในสังคมไทยรู้ว่าขยะที่ทิ้งก่อให้เกิดโรคแต่ไม่ทราบว่าขยะนั้นส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อร่างกายถึงร้อยละ 92.3อันตรายที่เกิดจากขยะเหล่านี้สามารถเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทางได้แก่ ทางผิวหนัง ทางการหายใจและทางเดินอาหาร โดยโรคภัยที่มาจากขยะ 4 อันดับแรก ได้แก่ท้องร่วงท้องเสีย โรคภูมิแพ้ คลื่นไส้อาเจียนและปวดศรีษะส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน (ที่มาของข้อมูลจากนายแพทย์โสภณเมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข)

ขยะมูลฝอยหมายถึง เศษกระดาษเศษผ้าเศษอาหาร ถุงพลาสติกภาชนะใส่อาหารมูลสัตว์หรือซากสัตว์ รวมถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากพื้นถนนหนทาง ตลาดหรือที่เลี้ยงสัตว์สิ่งของจากบ้านเรือนที่ประชาชนไม่ต้องการ ถูกทิ้งโดยไม่มีการกำจัดให้ถูกวิธี สิ่งของที่ทิ้งไปหากมีคนนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้สิ่งนั้นยังไม่ใช้ขยะ ดังนั้น การสร้างภูมิความรู้ มีแนวคิดเห็นถึงคุณค่าจากขยะ ขยะเป็นทรัพยากรที่สามารถนำไปใช้ได้โดยอาศัยภูมิปัญญาชาวบ้าน ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาขยะ

ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิดตำบลมะรือโบออกเป็นสถานที่สอนภาษายาวีภาษาอาหรับสอนวิชาการอิสลามศึกษาให้การฝึกอบรมเด็กเรื่องคุณธรรมจริยธรรมตระหนักถึงความสำคัญเรื่องดังกล่าว เพื่อปลูกจิตสำนึกผู้บริหาร ผู้สอนและเด็กการศึกษาอิสลามในการลดการใช้ การใช้ซ้ำ การรีไซเคิล จึงจัดทำโครงการจัดการขยะมูลฝอยภายในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการจัดการขยะมูลฝอยภายในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด
    รายละเอียด

    กิจกรรมที่ 1อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาผลกระทบต่อสังคม ชุมชน สภาวะสิ่งแวดล้อมและสาธิตการจัดการขยะโดยใช้หลัก 3Rs (กิจกรรมการลด การใช้ซ้ำและการคัดแยกนำมากลับใช้ใหม่ กิจกรรมที่ 2การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการจัดการขยะมูลฝอย งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลมะรือโบออกรายละเอียดดังนี้ 1. ค่าอาหารสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 75 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้ารับการอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 75คน มือๆละ25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3,750 บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 4. ค่าจัดทำเอกสาร จำนวน 7๕ เล่มๆละ๒0บาทเป็นเงิน๑,๕00 บาท 5. ค่าประเป๋าพร้อมสกรีน จำนวน 7๕ ใบๆละ ๑๐๐ บาท
    เป็นเงิน๗,5๐0 บาท 6. ค่าจัดทำป้ายโครงการ ขนาด 1.2x2.5 ตารางเมตรๆละ 250 บาท เป็นเงิน 750 บาท

    งบประมาณ 21,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิดในพื้นที่ตำบลมะรือโบออก จำนวน 10แห่ง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 21,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ผู้บริหารผู้สอนการศึกษาอิสลามเห็นความสำคัญในการจัดการขยะมูลฝอย และสามารถลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ ๒. ผู้บริหารผู้สอนการศึกษาอิสลามนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดการขยะ

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 21,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................