กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย ผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการ ปีงบประมาณ 2561

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง

รพ.สต.คอลอตันหยง

รพ.สต.คอลอตันหยง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ หรือผู้ดูแลมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและแก้ปัญหาด้านสุขภาพ ด้วยตนเองเบื้องต้นได้

ผู้สูงอายุ  ผู้พิการ หรือผู้ดูแลมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและแก้ปัญหาด้านสุขภาพ ด้วยตนเองเบื้องต้นได้

120.00
2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ โดยทีมหมอครอบครัว

ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูร่างกายได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ โดยทีมหมอครอบครัว

120.00
3 3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดเตียงให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตราย และลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด

ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดเตียงที่ให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตราย และลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด

120.00
4 4.เพื่อลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส ที่ไม่สามารถออกมาร่วมกิจกรรมในชุมชนได้

 

10.00
5 5.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในเรื่องการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน

 

100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2017

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ประชุม อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

ชื่อกิจกรรม
1.ประชุม อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารกลางวัน สำหรับประชุมชี้แจงผู้ดูแลหรือผู้สูงอายุ จำนวน 120 คน x50 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 120 x 25บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 6,000
รวมเป็นเงิน 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 2 2.อบรมผู้พิการและผู้สูงอายุ และ ลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดเตียง

ชื่อกิจกรรม
2.อบรมผู้พิการและผู้สูงอายุ และ ลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดเตียง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารกลางวัน 5 คน x 50บาท 24 มื้อรวมเป็นเงิน 6,000บาท -ค่าอาหารว่าง สำหรับทีมหมอครอบครัว จำนวน 5 คน x 25บาท 48 มื้อ เป็นเงิน  6,000บาท รวมเป็นเงิน 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้
2. อัตราความรุนแรงของโรคและความพิการในผู้ป่วยติดเตียงลดลง
3. ผู้สูงอายุ ผู้พิการในพื้นที่รับผิดชอบ มีสุขภาพทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณที่ดีสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข
4. ผู้สูงอายุและผู้พิการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชนมีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเอง
5. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชน


>